Home
Tags
Login
Register
Search
Home
Logistics Thinking - 16 Book Supply Chain
Logistics Thinking - 16 Book Supply Chain
April 14, 2018 | Author: Anonymous | Category:
Documents
DOWNLOAD PDF
Share
Report this link
Description
°“√®—¥°“√‚´ãÕÿª∑“π„π∏ÿ√°‘®Àπ—ß◊Õ ¥√.«‘∑¬“ ÿÀƒ∑¥Ì“√ß ∫∑§«“¡®“° π‘쬓√ Logistics Thailand ªÇ 2547 ผมมี โอกาสอ านหนังสื อที่ เกี่ ยวกับโซ อุ ปทานมามากพอสมควร มาคราวนี้เกิ ดความของใจใน “กระบวนการ” ของ อุตสาหกรรมหนังสื อและสิ่ งพิ มพที่ เป นแหล งรวมของความรูต าง ๆ ท านนายกฯ ทักษิ ณ ชิ นวัตรเอง ก็ กํ าหนดใหป 2004 เปนปแหงการอาน และตลาดหนังสือในเมื องไทยก็ กํ าลังขยายตัวออกไปอย างมาก มี รานจํ าหน ายหนังสื อดี ๆ กระจายออกไป ทั่วทุกจังหวัด บางรานเชน ศูนยหนังสือจุฬา มีบริการซื้อหนังสือผานทางอินเตอรเน็ต บางท านอาจคิ ดว า แค ขายหนังสื อคงจะไม มี อะไรมากนัก แต บังเอิ ญผมมี ประสบการณกับธุ รกิ จหนังสื อมา โดยตรงในฐานะของนักเขี ยน นักแปลและผูลงทุ นจัดพิ มพหนังสื อเอง (มื อใหม ) ผมไม สามารถตรวจสอบยอดการขายว า ร านไหนขายดี ที่ สุ ดได ภายในเวลาอันสั้น ข อมู ลเหล านี้กว าจะได มาใช เวลายาวนานและบางครั้งเป นข อมู ลภาพรวม จนเกิ นไปและไม สามารถใชในการวิ เคราะหเพื่ อปรับแผนหรื อการดํ าเนิ นการใดๆ ได สุ ดทายก็ คงตองปล อยใหเป นไปตาม ยถากรรม ดวยเหตุนี้จึงเปนที่มาของบทความนี้ ที่ จริ งแลวยักษใหญ อย าง Amazon.com ซึ่ งถื อว าเป นผูคาปลี กหนังสื อรายใหญ ของโลกและไม มี หนาราน แต ใช ช องทางอิ นเตอรเน็ ตแทน และถื อว าเป น Business Model ที่ ประสบความสํ าเร็ จที่ สุ ด Model หนึ่ ง แต เมื่ อเร็ วๆ นี้ Amazon.com ไดจางมื อบริ หารทางดาน Logistics ที่ มี ประสบการณจาก Wal-Mart มาจัดการเรื่ องระบบลอจิ สติ กสและการ จัดการโซอุปทานของธุรกิจหนังสือ และนี่เปนการพิสูจนวาทุกธุรกิจตองมีการจัดการลอจิสติกสและโซอุปทานเสมอ เราอยูตรงไหน จากอดีตที่ผานมาเราคงจะคุนเคยกับหนังสือและสิ่งพิ มพต างๆ ตั้งแต เชาตื่ นมาก็ พบหนังสื อพิ มพวางอยู หรื อเสี ยบ อยู ในกล องรั บหนั งสื อพิ มพ หน าบ าน หรื อไม ก็ ไปซื้อตามแผงหนั งสื อ หรื อแม แต รถติ ดอยู ตามสี่ แยกก็ ยั งมี เด็ กขาย หนังสื อพิ มพมาเดิ นขายใหเราจนถึ งรถ ต อมาก็ มี รานขายหนังสื อแถววังบู รพา, สยามสแควรในอดี ต หรื อแผงขายหนังสื อ นิ ตยสารรายสัปดาหและรายเดื อน และแผงหนังสื อเก าที่ สนามหลวงซึ่ งป จจุ บันนี้ย ายมาที่ สวนจัตุ จักรนานแลว จนถึ ง ป จจุ บันมี รานหนังสื อขนาดใหญ ตามหางสรรพสิ นคา เช น ซี เอ็ ดบุคเซ็ นเตอร, B2S, Kinokuniya, แพร พิ ทยา หรื อดอกหญาที่ โด งดังในอดี ต สถานที่ เหล านี้ถื อว าเป นแหล งที่ คนไทยเขาไปหาซื้อหนังสื อได และทุ กๆ ป จะมี งานสัปดาหหนังสื อ 2 ครั้ง แต ละครั้งจะมี การออกร านของสํ านักพิ มพมากมาย และมี ผู คนไปซื้อหนังสื อกันมากมายเช นกัน หนังสื อจึ งอยู คู สังคม มนุ ษยมานานเพื่ อสื่ อสารถ ายทอดความคิ ดเห็ นเรื่ องราวความรู กันตลอดจากอดี ตจนถึ งป จจุ บัน จนกระทั่ งหนังสื อได ถู ก พัฒนาไปเป นสื่ ออิ เล็ กทรอนิ กสเช น E-Book หรื อ CD-Rom แต วงการหนังสื อหรื อสิ่ งพิ มพก็ ยังคงอยู และอาจแรงขึ้น ตามลําดับ ดวยจํานวนปกหนังสือและจํานวนพิมพที่แต ละสํ านักพิ มพไดพิ มพออกมาในแต ละวันมี อยู เป นจํ านวนไม ใช นอย ผมไม มี ตัวเลขที่ แน นอน แต มี คนในวงการบอกมาว ามี หนังสื อออกใหม ในเมื องไทยวันละไม ต่ํ ากว า 30 ปก อุ ปทานและ อุปสงคที่เพิ่มขึ้นเรื่ อย ๆ ทั้งหนังสื อไทย และหนังสื อต างประเทศที่ แปลเป นไทย เหล านี้ไดสรางขนาดของธุ รกิ จหนังสื อให ใหญขึ้นเรื่อยๆ และความซับชอนของกระบวนการธุรกิจหนังสือและสิ่งพิมพก็จะตามมา สถานภาพ ในธุ รกิ จหนังสื อและสิ่ งพิ มพทุ กวันนี้ ผลประโยชนร วมกันในฐานะสมาชิ กของโซ อุ ปทานยังกระจายไปไม ทั่ วถึ ง ลองมาดู ภาพของโซ อุ ปทานของธุ รกิ จสิ่ งพิ มพในรู ปที่ 1 ก อนจะออกมาเป นหนังสื อใหเราเห็ นอยู ทุ กวันนั้นมี กระบวนการ อะไรบางหรื อเรี ยกกันว าโซ คุ ณค า (Value Chain) ในขั้นแรกจะตองมี อุ ปสงค (Demand) จากตลาดเสี ยก อน แลวส งต อไปที่ สํ านักพิ มพซึ่ งเป นคนที่ จะจัดพิ มพหนังสื อเพื่ อตอบสนองความต องการของลู กค า หรื อจะเป นผู เขี ยนหรื อผู แปลที่ เป นผู ตอบสนองความตามตองการของลู กคาโดยการเขี ยนหรื อแปล และส งใหสํ านักพิ มพเป นผูลงทุ น หรื อผูแปลจะเป นผูลงทุ น เองในการจัดพิมพก็ยอมได แต ถาเป นในกรณี ที่ สํ านักพิ มพตองการจัดพิ มพเอง สํ านักพิ มพก็ จะตองมี นักเขี ยนหรื อนักแปล มาดํ าเนิ นการเขี ยนหรื อแปลเรื่ องราวต าง ๆ ตามความตองการของตลาด สํ านักพิ มพส วนมากจะไม ใช โรงพิ มพ และโรง พิ มพก็ จะไม ใช สํ านักพิ มพ สํ านักพิ มพจะเป นผู ดู แลจัดการเรื่ องเนื้อหาของหนังสื อ รู ปแบบปก การเรี ยงหน าและสี ฯลฯ จากนั้นสํานักพิมพจะหาโรงพิมพที ่เหมาะสมในการจัดพิมพ เมื่อหนังสือเสร็จออกมาเปนรูปเลมจะจัดส งไปยังผูจัดจํ าหน าย และส งต อไปยังรานหนังสื อต างๆ สถานภาพและองคประกอบโดยทั่ วไปที่ เกิ ดขึ้นคงจะเหมื อนผลิ ตภัณฑอื่ นๆ และป ญหา ตางๆ ที่เกิดขึ้นก็คงจะไมใชปญหาใหมหรือเปนเรื่องแปลกก็คงเหมือนโซอุปทานของผลิตภัณฑอื่นเชนเดียวกัน รูปที่ 1 โซอุปทานแบบดั้งเดิมของธุรกิจหนังสือ และสิ่งพิมพ จากรู ปที่ 1 จะเห็ นว ามี การไหลของขอมู ลข าวสาร (Information Flow)และการไหลของผลิ ตภัณฑหรื อหนังสื อ ระหว างสมาชิ กในโซ อุ ปทานหนังสื อหรื อสิ่ งพิ มพ รู ปแสดงใหเห็ นว าองคกรธุ รกิ จหรื อสมาชิ กในโซ อุ ปทานที่ อยู แบบแยก ส วนกัน (Fragmented) หรื อไม ไดมี การทํ างานร วมกัน (Collaboration)ไม ไดเชื่ อมโยงกัน ทํ าใหเกิ ด “การไหลของขอมู ล” ที่ ไม มี ประสิ ทธิ ภาพ เหตุ การณตรงนี้เกิ ดขึ้นจริ งในโซ อุ ปทานของหนังสื อในเมื องไทย หลังจากสํ านักพิ มพได จัดพิ มพ หนังสื อเสร็ จเรี ยบรอยแลวก็ จะจัดส งหนังสื อไปใหผูจัดจํ าหน าย ขายเหมา หรื อฝากขายกับรานหนังสื อตามแต จะตกลงกัน (ตรงนี้เปนการจัดการโซ อุ ปทานเพราะมี ขอตกลงแลวทํ าใหเกิ ดการเคลื่ อนยายสิ นคาหรื อมี การแปลงสภาพความเป นเจาของ) หนังสือก็จะถูกสงตอไปยังรานหนังสือเพื่อใหถึงมือผูอาน ป ญหาที่ เกิ ดขึ้นคื อ สํ านักพิ มพผู ซึ่ งเป นผู ลงทุ นพิ มพหนังสื อ กว าจะรู ยอดขายและลักษณะการขายจะใช ระยะ เวลานานมาก ถาหนังสือฮิตขายดีก็ไมเปนไร แตหนังสือบางอยางจะตองมี การตลาดเขามาช วย ไม ใช หนังสื อไม ดี แต ตองใช การตลาดช วยนํ าเสนอลู กคา ขอมู ลและความเร็ วของการสื่ อสารขอมู ลมี ความสํ าคัญมากในการวางแผนทั้งการตลาดและ การผลิ ตหนังสื อ ทุ กวันนี้เมื่ อพิ มพเสร็ จส งยังผู จัดจํ าหน าย หรื อเข าร านแล ว ก็ จะหายไปเลย อี กหลายเดื อนกว าจะรู ว า หนังสื อขายไดแค ไหน ติ ดตลาดหรื อไม และที่ สํ าคัญกว าจะเก็ บเงิ นค าหนังสื อไดก็ อี กหลายเดื อน เพราะหนังสื อส วนใหญ เป นการฝากขาย ความยาวนานของวงจรเงิ นสดนี้จะมี ผลกระทบต อตนทุ นการผลิ ตหนังสื อ หนังสื อที่ ดี ๆ หลายเล มถู ก ปลดจากชั้นวางหน าร านเพราะไม มี แรงกระตุ น หนังสื อหลายเล มหมดโอกาสในการขายเพิ่ ม เพราะข อมู ลมาไม ทันและ ระบบการจัดการสงหนังสือชาเกินไปจึงทําใหสูญเสียโอกาสในการขายได เมื่ อพู ดถึ งการจัดการโซ อุ ปทานในธุ รกิ จหนังสื อ ผมไม คํ านึ งว าเป นหนังสื อที่ ไดรับความนิ ยมมากหรื อนอย แต จะ คํ านึ งถึ งการจัดการโซอุ ปทานในมุ มมองของการบริ หารขอมู ลเพื่อเคลื่อนยายหนังสือ (การเคลื่ อนยายนี้ เป นกิ จกรรมลอจิ สติกส) ไปสูกลุ มเป าหมายไดอย างถู กตองทํ าใหเกิ ดโอกาสในการขายไดมากขึ้น การวางแผนในลักษณะนี้สามารถทํ าควบคู ไปกับแผนการตลาดที่ ใชสื่ อต างๆ ในการกระตุนและชักชวนลู กคาใหหันมาสนใจตัวหนังสื อ และไปหาซื้อหนังสื อตามราน ฝายจัดการโซ อุ ปทานตองวางแผนและจัดการเติ มเต็ ม (Fulfill) หนังสื อ ใหทันตามความตองการของลู กคาที่ ฝ ายการตลาดได สื ่อสารกับลูกคาไว ขอมูลและสารสนเทศ คือ สิ่งสําคัญ ขอมูลและสารสนเทศ คื อ สิ่ งสํ าคัญในการจัดการกระบวนการธุ รกิ จ (Business Process Management) ตลอดหลาย สิ บป ที่ ผ านมา ไม ว าในธุ รกิ จใดก็ ตาม เราไดเห็ นการลงทุ นในเทคโนโลยี สารสนเทศของบริ ษัทขนาดกลางจนถึ งขนาดใหญ สํ าหรับธุ รกิ จหนังสื อนั้น เทคโนโลยี สารสนเทศหรื อ IT เขามาเกี่ ยวพันดวยอย างแน นอน (อย างนอยที่ ดานหลังของปกของ หนังสือจะมีบารโคดอยูเพื่อเปนเครื่องบงชี้หนังสือเหมือนกับเปนเลขประจําตัวที่บงบอกวาเปนหนังสือชื่ ออะไร และใครเป น ผูแตง) แตเปนที่นาเสียดายวาเราใชประโยชนจากขอมูลเหลานี้ในการจัดการโซอุปทานหนังสื อนอยเหลื อเกิ น ผมสังเกตได จากขอมู ลในการตัดสิ นใจที่ ถู กส งมาจากรานคา ผ านมายังผูจัดจํ าหน าย จนมาถึ งสํ านักพิ มพ และสุ ดทายไปยังผูเขี ยนหรื อผู แปลนั้นมี ความล าชา ไม ทันสมัย และใชประโยชนไดนอยมาก ขอมู ลสารสนเทศที่ ไม สมบู รณในเชิ งการจัดการโซ อุ ปทาน เหล านี้ อาจทํ าให เกิ ดการตัดสิ นใจในการดํ าเนิ นงานผิ ดพลาดทํ าให เกิ ดหนังสื อค างอยู ตามร านค าเป นเวลานานเกิ นไป หรื อไม ก็ ทํ าใหหนังสื อขาดตลาดและพิ มพออกสู ตลาดไม ทัน ซึ่ งจะทํ าใหหนังสื อเล มอื่ นออกมาแย งพื้นที่ การวางขายในราน หนังสื อแทน เหตุ การณเหล านี้มี ผลกระทบไปถึ งต นทุ นโดยรวมของหนังสื อซึ ่ งยังมี โอกาสอี กมากในการปรับปรุ ง กระบวนการโซ อุ ปทานและลอจิ สติ กสต างๆ ของอุ ตสาหกรรมการผลิ ตหนังสื อและสิ่ งพิ มพ รวมทั้งกระบวนการทางดาน การเงินตางๆ ดังนั้นโซ อุ ปทานหนังสื อจึ งเป นกระบวนการที่ ยังขาดประสิ ทธิ ภาพเพราะขาดความโปร งใส (Visibility) และ ความสามารถในการเขาถึ งขอมู ลของอุ ปสงคและปริ มาณสิ นคาคงคลังแบบวันต อวัน ซึ่ งส งผลต อการวางแผนตลอดทั้งโซ อุ ปทาน และอัตราการเติ มเต็ มเฉลี่ ยจะค อนข างต่ํ า (ยังไม มี การสํ ารวจ) แต ผมมี ข อมู ลของโซ อุ ปทานหนังสื อในประเทศ อังกฤษ คื อ จะไม เกิ น 85% และ 15% ของยอดขายจะเป นส วนที่ สู ญหายและการจัดส งไม ครบและไม มี ความแน นอน ขอมู ลในประเทศอังกฤษจากรายงานของ RR Bowker เมื่ อป 2004 กล าวว า บางสํ านักพิ มพมี สิ นคาคงคลังสํ ารองไวถึ ง 300 วัน ซึ่ งเป นระดับส วนเกิ นของสิ นคาคงคลังที่ เป นตนทุ นส วนเกิ นที่ เกิ ดจากความลาสมัย และความเสี ยหายในการจัดส งและ การวางขาย ที่ สํ าคัญมี อัตราการส งคื นถึ ง 40% ยังถื อว าเป นเรื่ องปกติ ของอุ ตสาหกรรมนี้ คงไม ตองกล าวถึ งอุ ตสาหกรรม หนังสือไทยเลยวา มีตนทุนในโซอุปทานสูญเปลาไปอีกมากมายกวาแคไหน ป ญหาต างๆ ที่ เกิ ดขึ้นในโซ อุ ปทานไม ว าจะเป นผลิ ตภัณฑไหนๆ ก็ ตามคื อ การจัดการดวยขอมู ลสารสนเทศของ สถานะของกิ จกรรมต างๆ ในโซ อุ ปทานหนังสื อ ดังนั้นความโปรงใสของการเขาถึงของขอมู ล (Visibility) สํ าหรับการ จัดการโซอุปทานจึงเปนสิ่งสําคัญมาก ทําใหสมาชิกในโซอุปทานไม ว าจะเป นรานหนังสื อ ผูจัดจํ าหน ายจนถึ งสํ านักพิ มพได รับรูขอมู ลที่ รวดเร็ วและทันสมัย ไม ว าขอมู ลเหล านั้นจะเป นขอมู ลที่ จุ ดขาย (POS) ขอมู ลสิ นคาคงคลังต างๆ และอัตราการ เติมเต็มสินคา ขอมูลเหลานี้จะชวยใหสํานักพิมพ • สามารถปรับแผนการพิมพไดตามอุปสงคของตลาด • สามารถจัดการเรื่องสตอกหนังสือโดยการดึงหรือโยกยายสตอกมากกวาการสั่งพิมพใหม • สามารถที่จะพยากรณสถานการณการขาดสตอกได • สามารถระบุ และแก ไขป ญหาทางด านลอจิ สติ กสของการจัดส ง การจัดจํ าหน วยและการจัดการ สิ นคาคงคลังไดง าย ส วนรานหนังสื อสามารถที่ จะโยกยายสตอกไดง ายกว าที่ จะสั่ งหนังสื อมาเป น สินคาคงคลังใหม สําหรับภาพรวมของทุ กคนในโซ อุ ปทานหนังสื อจะลดตนทุ นรวมของการจัดการ หนังสือที่สงคืน โซอุปทานที่ชาญฉลาด หลักการจัดการโซ อุ ปทานโดยทั่ วไปคื อ การจัดการการเปลี่ ยนแปลงกระบวนการธุ รกิ จให ตอบสนองต อความ ตองการของลูกคาไดอยางรวดเร็ว รูปที่ 2 โซอุปทานแบบชาญฉลาดของธุรกิจหนังสือ และสิ่งพิมพ ในรู ปที่ 2 แสดงใหเห็ นถึ งคุ ณลักษณะของโซ อุ ปทานที่ ชาญฉลาด (Intelligent Supply Chain) โครงสรางของโซ อุปทานยังคงเหมือนเดิม คือ ตั้งแตนักเขียนนักแปล สํ านักพิ มพ ไปจนถึ งผูอ านหนังสื อ เสนทางการไหลหรื อลอจิ สติ กสของ หนังสือก็ยังคงเหมือนเดิ ม สิ่งที่ตางแตกกันออกไปคือ การไหลของขอมู ลสารสนเทศมีการเชื่อมโยงและทําใหมีความทันสมัย อยูตลอดเวลา (สังเกตไดจากลู กศรของขอมู ลสารสนเทศที่ เชื่ อมต อกันตลอดทั้งโซ อุ ปทาน) ขอมู ลเหล านี้จะช วยลดความ แปรปรวนของขอมูล เมื่อขอมูลถูกเชื่อมตอและมีการใชขอมูลรวมกันก็จะทําใหเกิดการวิ เคราะห การพยากรณ การวิ เคราะห สิ นคาคงคลัง อัตราการเติ มเต็ มสิ นคาต างๆ กิ จกรรมในการวิ เคราะหและวางแผนสํ าหรับการปรับตัวของโซ อุ ปทานจะทํ าให โซ อุ ปทานมี ลักษณะเกิ ดความชาญฉลาดหรื อเป นระบบอัจฉริ ยะ (Intelligence) ซึ่ งทํ าใหโซ อุ ปทานของหนังสื อหรื อสิ่ งพิ มพ มีการปรับตัวตามระดับความตองการของลูกคาและภาวะแวดลอมทางธุรกิจ ทําไมตองมีการทํางานรวมกัน สํ าหรับผมแล ว โซ อุ ปทานไม ใช เทคโนโลยี สารสนเทศ ไม ใช ซอฟท แวร และไม ใช ลอจิ สติ กส โดยตรง แต ผมให ความหมายว าเป นการทํ างานร วมกัน (Collaboration) ระหว าง “กระบวนการธุ รกิ จ” ที่ มาร วมกันสรางคุ ณค าใหกับผลิ ตภัณฑ (ซึ่งก็คือ หนังสือ) องคประกอบของความเป นโซ อุ ปทานนั้น มี อยู คู กับกระบวนการธุ รกิ จนานแลว เพี ยงแต จะตองปรับปรุ ง ความสัมพันธระหว างสมาชิ กในโซ อุ ปทานเพื่ อใหเกิ ดผลประโยชนร วมกัน การที่ รานขายหนังสื อร วมกันแข งขันและใช ขอมู ลในการขายใหเกิ ดความโปร งใสของขอมู ลตลอดทั้งโซ อุ ปทาน สถานการณเหล านี้เกิ ดขึ้นอยู เสมอในวงการธุ รกิ จคา ปลี ก (Retailing) ในความเป นจริ งนั้นค อนข างยากที่ รู สถานภาพของยอดขายหนังสื อแต ละเล มในแต ละวันหรื อแต ละ สัปดาหของแตละรานหนังสือ ที่ จริ งแลวถาจะใหเกิ ดขึ้นไดตามแนวคิ ดนี้ ก็ คงจะตองใชเวลานานพอสมควรกว าสํ านักพิ มพจะทราบยอดขายของ หนังสื อแต ละเล ม สถานะเหล านี้จะบ งบอกถึ งสมรรถนะของโซ อุ ปทาน (Supply Chain Performance) และการบ งชี้ถึ ง ประเด็ นต างๆ ในการจัดการโซ อุ ปทานของหนังสื อ ดังนั้นถาทุ กคนในโซ อุ ปทานมี การทํ างานร วมกัน (Collaboration) จะ ช วยทํ าให เกิ ดความเข าใจระหว างกันมากขึ้น โดยเฉพาะเห็ นผลประโยชนร วมกันในลักษณะ win-win ทํ าให เกิ ดการ ปรับปรุ งการพยากรณ และการวิ เคราะหอุ ปสงคของลู กคา การปรับปรุ งความสามารถในการดํ าเนิ นงานเพื่ อตอบสนองและ โต ตอบกับการเปลี่ ยนแปลง นอกจากนี้การทํ างานร วมกันยังช วยปรับปรุ งให โซ อุ ปทานเกิ ดความมั่ นคงและสามารถ พยากรณไปในอนาคตได การทํ างานร วมกันยังทํ าใหเกิ ดปรับปรุ งประสิ ทธิ ภาพของการดํ าเนิ นงานโซ อุ ปทาน ผลจากการ ปรับปรุ งอัตราการเติ มเต็ มสิ นค า และมี การปรับปรุ งความมี พร อม (Availability) ของสิ นค าทํ าให เกิ ดการมี ประสิ ทธิ ภาพ เพิ่ มขึ้นของกิ จกรรมสรางอุ ปสงค (Demand Generating Activities) ซึ่ งเป นผลทํ าใหยอดขายสิ นคาเพิ่ มขึ้น การจัดการโซ - อุปทานจะลดเวลานํา (Lead Time) และประเด็นที่สําคัญที่สุดก็คือ ลดตนทุน โดยเฉพาะหนังสือที่ขายไมไดและมีการสงคืน มองมุมใหม เราคงจะตอบปฎิเสธไมไดวาทุกคนตองไดเคยมีโอกาสเขารานหนังสื อและใชบริ การจากรานหนังสื อมาก อน จากราน หนังสื อในอดี ตจนถึ งป จจุ บัน กระบวนการธุ รกิ จหลักในโซ อุ ปทานของรานหนังสื อนั้นไม ค อยจะเปลี่ ยนแปลงเท าใดนัก จะเปลี่ ยนก็ แต เทคโนโลยี ในการพิ มพ โดยมี สี สันที่ ดู สะดุ ดตา การออกแบบปก และที่ สํ าคัญมี นักเขี ยน นักแปลออกสู ตลาด มากขึ้นตามกาลเวลาและสังคมที่ พัฒนาไป ระบบการจัดการโซ อุ ปทานมี การพัฒนาไปพอสมควรก็ เช นกัน อุ ตสาหกรรม หนังสื อก็ เหมื อนอุ ตสาหกรรมการผลิ ตสิ นคาอื่ นๆ เช นกัน แต มี การพัฒนาไปอย างชามาก ภาพของความคิ ดเก าๆ ในเรื่ อง ความสัมพันธของรานขายหนังสื อกับสมาชิ กอื่ นในโซ อุ ปทานหนังสื อที่ ต างคนต างอยู ควรจะหมดไปไดแลว ควรจะพัฒนา ความสัมพันธจนกลายเปนพันธมิ ตรที่ ทํ างานร วมกันและร วมกันในการใชขอมู ล ณ จุ ดขาย ขอมู ลการขายจะเป นตัวกํ าหนด กิ จกรรมอื่ นๆ ในโซ อุ ปทานหนังสื ออย างสอดคลองกันเพื่ อทํ าใหเกิ ดสิ นคาคงคลังนอยที่ สุ ด ทํ าใหเกิ ดความมี พรอมของ ผลิตภัณฑ (Availability) ของหนังสือที่หนาราน และที่ สํ าคัญเมื่ อหนังสื อหมดหรื อถึ งจุ ดที่ จะตองสั่ ง (Reordering Point) ทาง สํ านักพิ มพหรื อผูจัดจํ าหน ายก็ สามารถที่ จะเติ มเต็ มสิ นคาไดอย างทันท วงที เพื่ อไม ใหเกิ ดการขาดแคลนสิ นคา ในอนาคตถา มี การนํ าเอาแนวคิ ดของการจัดการโซ อุ ปทานมาใช เราคงจะเห็ นหนังสื ออี กหลายเล มออกมาให พวกเราได อ านศึ กษาหา ความรูกัน และดวยราคาที่ ถู กกว า ผมว าน าจะเป นมุ มมองใหม ในการเอาความรูจากหนังสื อการจัดการโซ อุ ปทานมาใชกับ อุตสาหกรรมหนังสือเอง เอกสารอิงอาง Cairns, Michael, “Building an Intelligent Publishing Supply Chain” RR Bowker, 2004
Comments
Report "Logistics Thinking - 16 Book Supply Chain"
×
Please fill this form, we will try to respond as soon as possible.
Your name
Email
Reason
-Select Reason-
Pornographic
Defamatory
Illegal/Unlawful
Spam
Other Terms Of Service Violation
File a copyright complaint
Description
Copyright © 2025 UPDOCS Inc.