รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ครูชำนาญการพิเศษ

May 19, 2018 | Author: Anonymous | Category: Documents
Report this link


Description

รายงาน การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง เร่ือง การพฒันาสมรรถนะ และการวางแผนพฒันาคุณภาพ การปฏิบัติงานของครูช านาญการพเิศษ โดย นางขวญัจิรา วงแหวน ครู โรงเรียนเมืองพญาแลวิทยา ส านกังานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธัยมศึกษา เขต ๓๐ ประกอบหลกัสูตรการพฒันาขา้ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ก่อนแต่งตั้งให้มีและเล่ือนเป็นวิทยฐานะครูช านาญการพิเศษ ค าน า ตามท่ีส านกังานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานร่วมกบัสถาบนัพฒันาครู คณาจารยแ์ละ บุคลากรทางการศึกษาไดก้ าหนดใหส้ถาบนัอุดมศึกษา จ านวน ๒๗ แห่ง เป็นหน่วยพฒันาขา้ราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งใหมี้และเล่ือนเป็นวิทยฐานะช านาญการพิเศษและวิทยฐานะ เช่ียวชาญ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยัราชภฏันครราชสีมา เป็นหน่วยงานหน่ึงท่ีไดรั้บมอบใหเ้ป็นหน่วย พฒันาขา้ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในคร้ังน้ี ซ่ึงผูจ้ดัท าจะไดเ้ขา้รับการพฒันาตามหลกัสูตร “การพฒันาขา้ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งใหมี้และเล่ือนเป็นวิทยฐานะช านาญการ พิเศษ รุ่นท่ี ๒๗ ระหว่าง วนัท่ี ๑๕ – ๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๕” กลุ่มท่ี ๕ ล าดบัท่ี เพ่ิมเติม โดยใน การเขา้รับการอบรมดงักล่าวไดม้อบหมายภาระงานใหผู้ท่ี้จะเขา้รับการอบรมท าการศึกษาคน้ควา้ดว้ย ตนเองจากต ารา เอกสาร บทความ งานวจิยั ส่ืออิเลก็ทรอนิกส์ และแหล่งเรียนรู้อ่ืน ๆ ในหน่วยการเรียนรู้ ประกอบด้วย ๒ ส่วน ๔ หน่วยการเรียนรู้ ผูจ้ดัท าไดด้ าเนินการศึกษาคน้ควา้ความรู้และจดัท าสรุปตาม ประเด็นแต่ละหน่วยการเรียนรู้เพื่อเป็นแนวทางการประยกุตสู่์การปฏิบติัในสถานศึกษา ต่อไป ผูจ้ดัท าหวงัเป็นอยา่งยิง่วา่เอกสารฉบบัน้ีคงเป็นประโยชนต่์อการพฒันาการศึกษาบา้งตามสมควร หากมีขอ้บกพร่องในรายงานฉบบัน้ี ผูจ้ดัท าขอนอ้มรับเพื่อน ามาปรับปรุงพฒันาใหส้มบูรณ์ต่อไป ขวญัจิรา วงแหวน ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๕๕ สารบัญ เร่ือง หน้า บทท่ี ๑ บทน า ๑ บทท่ี ๒ การพฒันาสมรรถนะในการปฏิบติังานในหนา้ท่ีครูช านาญการพิเศษ ๒ หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑ เทคนิคการออกแบบการเรียนรู้เพือ่พฒันาผูเ้รียน ๒ หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๒ ภาวะผูน้ าทางวิชาการ ๔ บทท่ี ๓ การวิเคราะห์บทบาทหนา้ท่ีความรับผดิชอบและวางแผนพฒันา ๖ คุณภาพการปฏิบติังานของครูช านาญการพิเศษ หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๓ ความเป็นครู ๗ หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๔ การวางแผนกลยทุธเ์พื่อพฒันาคุณภาพผูเ้รียน ๙ บรรณานุกรม ๑๑ บทที ่ ๑ บทน า การศึกษาเป็นกระบวนการท่ีท าใหค้นมีความรู้และมีคุณสมบติัต่างๆ ท่ีช่วยใหค้นนั้นอยูร่อดใน โลกได ้เป็นประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัว และสงัคมส่วนรวม (สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมกุมารี) ดงันั้น คุณภาพการศกึษาจึงสะทอ้นถึงคุณภาพของคนท่ีเป็นผลผลิตของการจดัการ ศกึษา อยา่งไรก็ตาม ในสถานการณ์ปัจจุบนัสถานศึกษาส่วนใหญ่ยงัมีความเหล่ือมล ้าและแตกต่างกนั ทั้งในดา้น งบประมาณ คุณภาพ บุคลากร หรือแมแ้ต่ปัจจยัดา้นผูเ้รียน รวมทั้งปัจจยัเอ้ืออ่ืนๆ เช่น ความร่วมมือของ กรรมการสถานศึกษาการสนบัสนุนจากชุมชน หน่วยงานหรือองคก์รท่ีอยูใ่กลเ้คียงสถานศึกษา และการ ติดตามช่วยเหลืออยา่งใกลชิ้ดจากส านกังานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาหรือหน่วยงาน ตน้สงักดั ส่ิงเหล่าน้ีลว้น ส่งผลกระทบต่อคุณภาพการจดัการศึกษา อีกทั้งปัจจุบนัสถานศึกษามีอิสระในการบริหารจดัการศึกษาดว้ย ตนเอง มีการพฒันาหลกัสูตรสถานศึกษาเอง คุณภาพผูเ้รียนและคุณภาพการบริหารจดัการจึงมีความ แตกต่างกนั ดงันั้น พระราชบญัญติัการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ และท่ีแกไ้ขเพ่ิมเติม (ฉบบัท่ี๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ จึงก าหนดใหห้น่วยงานตน้สงักดัและสถานศึกษาจดัใหม้ีระบบประกนัคุณภาพภายในของ สถานศึกษา อนัน าไปสู่การก าหนดใหมี้มาตรฐานการศึกษาขั้นพ้ืนฐานข้ึน การจดัการศกึษาของสถานศึกษามีองคป์ระกอบท่ีส าคญั ๕ ดา้น ไดแ้ก่ ครู ผูบ้ริหาร สถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา หลกัสูตรและกิจกรรมของสถานศึกษารวมทั้งสภาพแวดลอ้มและ การบริการปัจจยัท่ีส าคญัท่ีสุดในการพฒันาผูเ้รียนใหม้ีคุณภาพตามท่ีตอ้งการได ้ คือ ครู ซ่ึงมี องคป์ระกอบท่ีเก่ียวขอ้ง ๒ ส่วน ไดแ้ก่ คุณภาพของตวัครู และคุณภาพการจดัการกิจกรรมการเรียนรู้และ ประเมินผลของครู ครูท่ีดีตอ้งมีความศรัทธาในอาชีพ เมตตาและเอาแต่ใจใส่ลกูศิษยเ์ป็นแบบอยา่งท่ีดีของ ลกูศิษย ์หมัน่พฒันาตนเอง เขา้กบัผูป้กครองและชุมชนไดดี้และส่ิงส าคญัท่ีสุดคือ ครูตอ้งมีความสามารถ ในการจดัการเรียนการสอน (ถ่ายทอดความรู้และต่อยอดความรู้ใหผู้เ้รียนได)้ อยา่งมีความเช่ือว่า "เด็กทุก คนมีความสามารถในการเรียนรู้และสามารถพฒันาตนเองได"้ จึงจะสามารถพฒันากิจกรรม วิธีการ ตลอดจนส่ือต่างๆ ท่ีใชใ้นการสอนเพื่อใหบ้รรลุมาตรฐานการจดั การเรียนการสอน หรือการจดัการเรียนรู้ ของครูตอ้งส่งเสริมใหผู้เ้รียนสามารถพฒันาไดต้ามธรรมชาติและเต็มศกัยภาพ ครูมืออาชีพตอ้งค านึงถึง ความแตกต่างระหว่างบุคคล จดัใหผู้เ้รียนไดเ้รียนรู้จากประสบการณ์ตรง หมัน่ปลกูฝังคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมท่ีดีงามอยา่งสม ่าเสมอและต่อเน่ือง เพื่อใหผู้เ้รียนมีความรู้ความสามารถมีทกัษะในการด ารงชีวิต มี บุคลิกลกัษณะและพฤติกรรมท่ีพึงประสงคอ์ยา่งย ัง่ยนื พร้อมท่ีจะเจริญเติบโตท่ามกลางความเปล่ียนแปลง ทั้งดา้นร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สงัคม และสติปัญญา เป็นท่ียอมรับของสงัคมและประเทศชาติในอนาคต (ส านกังานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน. ๒๕๕๔ : ๕-๖) บทที่ ๒ การพฒันาสมรรถนะในการปฏิบัติงานในหน้าท่ีครูช านาญการพเิศษ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ เทคนิคการออกแบบการเรียนรู้เพือ่พฒันาผู้เรียน ๑. การวเิคราะห์และพฒันาหลกัสูตร หลกัสูตร คือ มวลประสบการณ์ท่ีจดัใหผู้เ้รียนเกิดการเรียนรู้และมีคุณภาพตามเป้าหมายท่ี ก าหนด กระทรวงศึกษาธิการไดป้ระกาศใชห้ลกัสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกัราช ๒๕๕๑ ซ่ึงเป็นหลกัสูตรอิงมาตรฐาน (Standards-based Curriculum) คือ ก าหนดมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมาย ในการพฒันาคุณภาพผูเ้รียนครอบคลุมเน้ือหาสาระใน ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ (คณะกรรมการการศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน. ๒๕๕๒ : ๒ - ๓) ดงันั้น การท่ีจะน ามาตรฐานการเรียนรู้ไปสู่หลกัสูตรสถานศกึษาและการจดักิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ ละกลุ่มสาระไดน้ั้นจึงเป็นส่ิงส าคญัท่ีสุดเพราะส่งผลโดยตรงต่อผูเ้รียน จ าเป็นท่ีครูผูส้อนตอ้งวิเคราะห์ หลกัสูตร โดยก าหนดเป้าหมายของการเรียนรู้ การวิเคราะห์ความสมัพนัธร์ะหว่างมาตรฐานการเรียนรู้ ช่วงชั้นและสาระการเรียนรู้ ก าหนดตวัช้ีวดัใหส้อดคลอ้งตามมาตรฐานการเรียนรู้ วิเคราะห์ความสมัพนัธ์ ของตวัช้ีวดักบัสาระการเรียนรู้ จดัท าค าอธิบายรายวิชาและหน่วยการเรียนรู้ จากนั้นจึงจดัท าแผนการ จดัการเรียนรู้เพื่อเตรียมน าไปใชจ้ดักิจกรรมการเรียนรู้สู่ผูเ้รียนจริงต่อไป ส่วนการพฒันาหลกัสูตรนั้น เป็นการน าผลจากการใชห้ลกัสูตรแลว้พฒันาใหห้ลกัสูตรนั้นมีประสิทธิภาพมากยิง่ข้ึน สามารถพฒันาให้ ผูเ้รียนเกิดการเรียนรู้เต็มศกัยภาพและมีคุณภาพตามก าหนด โดยครูผูส้อนตอ้งวิเคราะห์หลกัสูตรคดัเลือก เน้ือหาสาระการเรียนรู้ ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้และเทคนิควิธีการเรียนรู้ จดักิจกรรมการเรียนรู้ตาม สภาพจริง เลือกใชส่ื้อการเรียนรู้และวิธีการวดัประเมินผลท่ีเหมาะสมเช่ือมโยงสมัพนัธก์บัสาระและ มาตรฐานการเรียนรู้ จดัท าวจิยัชั้นเรียน และประเมินผลการใชห้ลกัสูตร เพ่ือน าผลนั้นมาเป็นสารสนเทศ ในการพฒันาหลกัสูตรต่อไป ๒. การออกแบบการจดัการเรียนรู้ให้สอดคล้องกบัหลกัสูตรและบริบทของสถานศึกษา การจดัการเรียนรู้เป็นกระบวนการท่ีส าคญัในการน าหลกัสูตรสู่การปฏิบติัในชั้นเรียนใหผู้เ้รียน มีคุณภาพตามท่ีหลกัสูตรก าหนด ซ่ึงครูผูส้อนจะตอ้งมีความรู้ความเขา้ใจในหลกัการ แนวคิด และจุดเนน้ ท่ีเก่ียวขอ้งกบัการจดัการเรียนรู้ตามหลกัสูตร(ส านกังานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน. ๒๕๕๓ : ๑) สพฐ. ไดน้ าเสนอการออกแบบการจดัการเรียนรู้โดยใชเ้ทคนิค Backward Design ซ่ึงมี ๓ ขั้นตอนใหญ่ ๆ ไดแ้ก่ ๑) ก าหนดเป้าหมายการเรียนรู้ ๒) ก าหนดหลกัฐานท่ีเป็นผลการเรียนรู้ของผูเ้รียนตามเป้าหมายการเรียนรู้ท่ีก าหนด ๓) ออกแบบการจดัการเรียนรู้เพื่อใหผู้เ้รียนมีผลการเรียนรู้ตามเป้าหมายท่ีก าหนด ขณะออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ ครูผูส้อนควรออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีพฒันาสมรรถนะ 5 สมรรถนะ ตามท่ีก าหนดในหลกัสูตรแกนกลางฯใหแ้ก่ผูเ้รียนดว้ย ๒ การออกแบบการจดัการเรียนรู้ท่ีดีตอ้งสอดคลอ้งกบัหลกัสูตรและบริบทของสถานศึกษา โดยพิจารณา ดงัน้ี ๑)มีเป้าหมายชดัเจนท่ีเป็นรูปธรรมและทา้ทาย ๒) แสดงเทคนิคการจดัการเรียนรู้ท่ี แตกต่างจากแบบธรรมดา ๓) เร่ืองท่ีเรียนเป็นเร่ืองท่ีส าคญัและน่าสนใจต่อผูเ้รียน ๔) สอดคลอ้งกบั สถานการณ์จริงในชีวิตประจ าวนัและมีความหมายต่อผูเ้รียน ๕)เปิดโอกาสใหผู้เ้รียนไดล้องผดิลองถกูโดย มีการใหข้อ้มลูป้อนกลบัท่ีชดัเจน ๖) เนน้เพื่อผูเ้รียนเป็นรายบุคคล เปิดโอกาสใหผู้เ้รียนใชว้ิธีหลากหลาย วิธีในการท างานท่ีไดรั้บมอบหมายตามความสนใจของตนเอง ๗) มีรูปแบบการจดัการเรียนรู้และตวัอยา่งท่ี ชดัเจน ๘) จดัเวลาใหม้ีการสะทอ้นความคิดเห็น ๙) ใชห้ลายเทคนิคการสอน มีหลายวิธีในการแบ่งกลุ่ม ผูเ้รียนและมีการมอบงานหลายลกัษณะใหผู้เ้รียนท า ๑๐)มกีารดูแลสภาพแวดลอ้ม เพื่อป้องกนัความเส่ียง ทั้งหลาย/มีการดูแลความปลอดภยัในการท างาน ๑๑) ครูท าหนา้ท่ีเป็นท่ีปรึกษา ใหค้วามช่วยเหลือและผู ้ แนะน า ๑๒) เนน้การจดัประสบการณ์ใหม่ๆ แทนแบบเดิมๆ ๑๓) การจดัการเรียนรู้ตลอดหน่วย สะทอ้น เป้าหมายการเรียนรู้หลกัท่ีเป็นสาระส าคญัเสมอ ทั้งในกิจกรรมยอ่ย และภาพรวมทั้งหน่วย (เฉลิม ฟัก อ่อน. 2552 : 4) เมื่อออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ไดค้รบทุกหลกัฐานแลว้ ใหน้ าขอ้มลูทั้งหมดตั้งแต่เร่ิม ก าหนดหน่วยฯ มาเขียนรายละเอียดลกัษณะเดียวกบัแผนการจดัการเรียนรู้ และแผนการจดัการเรียนรู้ท่ี แนะน า คือเป็นแผนการจดัการเรียนรู้ใหญ่ ๑ แผนฯ ต่อ ๑ หน่วยการเรียนรู้ โดยในขั้นกิจกรรมการเรียนรู้ ใหแ้ยกกิจกรรม ๑ ช่วง (น าเขา้สู่บทเรียน-สอน-สรุปประเมิน) ใหต้รงกบัจ านวนชัว่โมงในตารางสอน ๓. การออกแบบการวดัและประเมนิผลการเรียนรู้ การออกแบบการวดัและประเมนิผลการเรียนรู้แบบยอ้นกลบัของ Grant Wiggings และ Jay Mctighe แบ่งเป็น ๓ ขั้นตอน (อา้งถึงใน เอกรินทร์ ส่ีมหาศาล และคณะ.มปป.:๕๙-๖๒) ซ่ึงสรุปไดด้งัน้ี ขั้นตอนท่ี ๑ ก าหนดเป้าหมายหลกัของการเรียนรู้ เพื่อก าหนดกรอบแนวคิดว่าเมื่อจบหน่วยแลว้ (๑)ผูเ้รียน ควรรู้อะไร (๒)ผูเ้รียนควรปฏิบติัและแสดงความสามารถในเร่ืองใดบา้ง (๓)สาระส าคญัท่ีควรค่าแก่การ เรียนรู้และน าไปใชใ้นชีวิตจริง (๔)ผูเ้รียนควรมีความรู้ความเขา้ใจท่ีลุ่มลึกย ัง่ยนืเก่ียวกบัเร่ืองอะไรบา้ง (๕) ผูเ้รียนควรเรียนรู้ในสภาพจริงและหรือจดัท าโครงงานท่ีจะเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผูเ้รียน ขั้นตอนท่ี ๒ ก าหนดหลกัฐานและวิธีวดัประเมินผลการเรียนรู้ ระบุเคร่ืองมือและวิธีการวดัประเมินผล โดยเนน้การวดั จากพฤติกรรมการเรียนรู้รวบยอด โดยควรด าเนินการวดัประเมินผลก่อนเรียน ระหว่างเรียน และเม่ือส้ินสุด การเรียน โดยใชเ้คร่ืองมือการวดัและประเมินผลยอ่ยๆ ทุกขั้นตอนของการจดักิจกรรมการเรียนรู้ประกอบ กบัการรวบรวมหลกัฐานร่องรอยของการเรียนรู้ท่ีผูเ้รียนแสดง ออกอยา่งครบถว้น ขั้นตอนท่ี ๓ วาง แผนการจดักิจกรรมและเสริมสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ ตามประเด็นต่อไปน้ี (๑) ผูเ้รียนจ าเป็นตอ้งมี ความรู้และทกัษะอะไรบา้ง (๒)ผูส้อนจ าเป็นตอ้งสอนหรือจดักิจกรรมอะไรบา้งเพื่อช่วยพฒันาผูเ้รียนให้ บรรลุเป้าหมาย (๓) ผูส้อนควรใชส่ื้อการสอนวสัดุอุปกรณ์และแหล่งการเรียนรู้อะไรบา้ง (๔) การก าหนด ขอบข่ายสาระการเรียนรู้ รูปแบบกิจกรรมและส่ือการเรียนรู้มีความกลมกลืนสอดคลอ้งและมีประสิทธิภาพ ส่งผลต่อการวดัประเมินผลไดช้ดัเจนหรือไม ่ สรุป เทคนิคการออกแบบการเรียนรู้เพือ่พฒันาผู้เรียน จะตอ้งเร่ิมตน้จากการวิเคราะห์และพฒันา ๓ หลกัสูตรเสียก่อนจากนั้นจึงน าองคค์วามรู้ท่ีไดม้าออกแบบการจดัการเรียนรู้ใหส้อดคลอ้งกบัหลกัสูตร และ บริบทของสถานศึกษา และออกแบบการวดัและประเมินผลการเรียนรู้ เพื่อตรวจสอบผลการพฒันาผูเ้รียน จากเทคนิคดงักล่าววา่บรรลุผลตามเป้าหมายของหลกัสูตรมากนอ้ยเพียงใด แนวทางการประยุกต์สู่การปฏิบัตใินสถานศึกษา เทคนิคการออกแบบการเรียนรู้เพือ่พฒันาผู้เรียน ครูผูส้อนจะตอ้งน าหลกัสูตรสถานศึกษาใน กลุ่มสาระการเรียนรู้ของตนเองมาวิเคราะห์ตามประเด็นและขั้นตอนใหส้มบูรณ์ ซ่ึงในกระบวนการน้ีอาจ สืบเน่ืองจากการพฒันาหลกัสูตรแลว้ก็เป็นได ้ จากนั้นออกแบบการจดัการเรียนรู้ โดยค านึงถึงธรรมชาติ ของเน้ือหาในกลุ่มสาระการเรียนรู้และรายวิชานั้น รวมถึงตอ้งสอดคลอ้งกบัหลกัสูตรและบริบทของ สถานศึกษาดว้ย ทั้งน้ี ส่ิงส าคญัท่ีสุด เม่ือลงสู่การปฏิบติักิจกรรมการเรียนรู้แลว้ ตอ้งเนน้ผูเ้รียนเป็นส าคญั และค านึงความแตกต่างของผูเ้รียนเป็นรายบุคคล ซ่ึงจะส่งผลต่อการออกแบบการวดัและประเมินผลการ เรียนรู้ท่ีหลากหลายและเหมาะสมในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ อนัเป็นกระบวนการสุดทา้ยในการประเมนิผล เทคนิคการออกแบบการเรียนรู้เพื่อพฒันาผูเ้รียนดงักล่าว หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ ภาวะผู้น าทางวชิาการ ๑. การเป็นผู้น าทางวชิาการ คุณสมบติัของผูน้ าทางวิชาการ ไดแ้ก่ สนใจ ใฝ่ศึกษา คน้ควา้วิจยั ไตร่ตรองพจิารณา กา้วหนา้ ทนัสมยั เปิดใจกวา้ง สร้างผลงาน สานสมัพนัธ ์ขยนั ซ่ือสตัย ์ประหยดั อดทน ซ่ึงภาระงานของผูน้ าทาง วิชาการแบ่งออกเป็น ๒ ดา้น คือ ดา้นงานประจ า อาทิ หลกัสูตร จดัผูส้อน ตารางสอน ตารางสอบ การ ฝึกงาน สารบรรณ การส่ือสารภายในและภายนอก และดา้นงานวิชาการ อาทิ สร้างศาสตร์ระดบัชาติและ นานาชาติ เอกสารประกอบการสอน ต ารา วารสาร วิจยัในชั้นเรียน การประชุมวิชาการ การแสดงผล งานวิชาการในรูปแบบต่างๆ ซ่ึงคุณลกัษณะของผูน้ าวิชาการมีดงัน้ี ๑) มีใจกวา้งยอมรับฟังความคิดเห็นท่ี แตกต่าง ๒)วิสยัทศันก์วา้งไกล มองอนาคต เตรียมการได ้ สอดคลอ้งกบัการเปล่ียนแปลง ๓) ทศันคติเชิง บวก สามารถมองประเด็นทางบวกไดแ้มบ้างกรณีอาจไม่เห็นดว้ยกบัขอ้เสนอบางประการ ๔) สร้างสรรค ์ สามารถคิดสร้างจินตนาการหาแนวทาง ในการพฒันาวิชาการ ๕)มีมนุษยสมัพนัธดี์ ท างานร่วมกบัผูอ่ื้นได ้ ๖) กลา้ตดัสินใจ มีเหตุผลในการตดัสินใจ ตั้งใจจริงและกลา้ท่ีจะตดัสินใจท างานใหป้ระสบผลส าเร็จได ้ ๗) รับผดิชอบ การมุ่งงานท่ีรับผดิชอบใหส้ าเร็จลุล่วงไปโดยไม่หวัน่ หรือยอ่ทอ้ต่ออุปสรรค ๘) เปิดโอกาส ในการรับความรู้เพ่ิมเติม ส่งเสริม สนบัสนุนใหใ้หม้ีการพฒันา (เขา้ถึงได้ จาก:http;//www.kroobannok.com/blog/๒๐๔๒๖[๒๕๕๕,พฤษภาคม ๑๒]) ๒. การสร้างบรรยากาศในช้ันเรียน จากงานวจิยัของนกัการศกึษาหลายคน พบว่า การสร้าง บรรยากาศท่ีดีในชั้นเรียน มีความสมัพนัธท์างบวกกบัผลสมัฤทธ์ิทางการเรียนของผูเ้รียน พรรณี ชูทยั (๒๕๕๒ : ๒๖๑ – ๒๖๓)ไดส้รุปแนวคิดของนกัจิตวิทยาว่า องค์ประกอบ ๖ประการ ท่ีครูตอ้งค านึงในการสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนท่ีจะช่วยใหน้กัเรียนสามารถพฒันาความส าเร็จในการ เรียนได ้ ดงัน้ี ๑) บรรยากาศท่ีทา้ทาย (challenge) ครูผูส้อนกระตุน้ใหก้ าลงัใจและเช่ือมัน่ในความสามารถ ๔ ของผูเ้รียนเพื่อใหผู้เ้รียนประสบผลส าเร็จในการเรียน ๒) บรรยากาศท่ีมีอิสระ(freedom) ผูเ้รียนมีอิสระท่ีจะ เลือกตดัสินใจท่ีจะศกึษาคน้ควา้ ซ่ึงผูเ้รียนมีความมัน่ใจในตนเองและไม่ตึงเครียด ๓) บรรยากาศท่ีมกีาร ยอมรับนบัถือ(respect) ครูใหค้วามยอมรับนบัถือผูเ้รียนวา่มีความสามารถท่ีจะพฒันาตนเองได ้ ผูเ้รียนจะ รู้สึกว่าตนมีคุณค่าในตนเอง มีผลดีต่อการร่วมท ากิจกรรมต่างๆของผูเ้รียน ๔) บรรยากาศท่ีมคีวามอบอุ่น (warmth) ครูมีความเขา้ใจเป็นมิตร ยอมรับ ตลอดจนใหค้วามช่วยเหลือจะท าใหน้กัเรียนเกิดความอบอุ่น สบายใจอยากเขา้ไปติดต่อดว้ย จะท าใหผู้เ้รียนเกิดความรู้สึกรักโรงเรียนและรักท่ีจะเรียน ๕) บรรยากาศ การควบคุม(control) เป็นความจ าเป็นท่ีครูจะตอ้งฝึกใหผู้เ้รียนมีระเบียบวินยัแต่มิไดอ้ยูภ่ายใตก้ารควบคุม ลงโทษ ๖) บรรยากาศของความส าเร็จ(success) เป็นการเห็นชอบจากครูท่ีมีความส าคญัต่อผูเ้รียน จะมผีล ต่อความส าเร็จในการท ากิจกรรมต่างๆ โดยเนน้การพดูถึงจุดท่ีผูเ้รียนประสบความส าเร็จมากกว่าพดู เก่ียวกบัความลม้เหลว(เขา้ถึงไดจ้าก:http;llgs212multiply,com/journal / item/4[๒๕๕๕ , พฤษภาคม ๑๒]) ๓. นวตักรรมการบริหารจดัการช้ันเรียนแนวใหม่ เป็นการใชว้ิธีระบบในการปรับปรุงและคิดคน้พฒันาวิธีสอนแบบใหม่ๆ ท่ีสามารถตอบสนองการ เรียนรายบุคคล การสอนแบบผูเ้รียนเป็นศนูยก์ลาง การเรียนแบบมีส่วนร่วม การเรียนรู้แบบแกปั้ญหาการ พั ฒ น า วิ ธี ส อ น จ า เ ป็ น ต้ อ ง อ า ศั ย วิ ธี ก า ร แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี ใ ห ม่ ๆ เ ข้ า ม า จั ด ก า ร และสนบัสนุนการเรียนการสอน ตวัอยา่ง นวตักรรมท่ีใชใ้นการเรียนการสอน ไดแ้ก่ การสอนแบบโมดุล (Module Teaching) การสอนแบบจุลภาค (Micro Teaching) ,การสอนแบบกลุ่มสัมพนัธ์ (Group Process Teaching) การสอนซ่อมเสริม (Remidial Teaching) ,การสอนโดยเพื่อน สอนเพื่อน (Peers Teaching) การ สอนแบบพี่สอนน้อง (Monitoring)และการปรับพฤติกรรม(Behavioral Modificaton) การสอนเป็น รายบุคคล (Individualized Instruction),การเรียนแบบรู้รอบ (Mastery Learning) การเรียนแบบศูนยก์าร เรียน (Learning Center),การสอนแบบบูรณาการ (Integrative Techniques) การสอน แบบสืบสวน สอบสวน (Inquiry Method) การสอนแบบโครงการ อาร์ ไอ ที (Reduced Instructional Time) การสอนโดย ใชชุ้ดการเรียนการสอน (Instructional Package) การสร้างบทเรียนให้เรียนด้วยตนเอง (Personalized System Instruction) การสอนโดยให้ทางบ้านดูแลการฝึกปฏิบัติ (Home Training) ชุดการสอนย่อย (Minicourse) การเรียนผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต และการวิจยัในชั้นเรียน (classroom research)(เขา้ถึงได้จาก : http; //www. northeducation. ac.th/etraining/courses/3/itedu/chap1/index07- 12php[๒๕๕๕ , พฤษภาคม ๑๓]) ๔. จติวทิยาการเรียนรู้ทีเ่หมาะสมกบัผู้เรียน จิตวิทยาการเรียนรู้เป็นทฤษฎีการเรียนรู้ท่ีมีอิทธิพลต่อการจดัการเรียนรู้มาก เพราะจะเป็น แนวทางในการก าหนดปรัชญาการศึกษาและการจดัประสบการณ์ ทฤษฎีการเรียนรู้ท่ีส าคญัแบ่งเป็น ๒ กลุ่มใหญ่ คือ ๑) ทฤษฎีกลุ่มสมัพนัธต่์อเน่ือง (Associative Theories) ทฤษฎีน้ีเห็นว่าการเรียนรู้เกิดจาก การเช่ือมโยงระหว่างส่ิงเร้า (Stimulus) และการตอบสนอง (Response) ปัจจุบนัเรียกทฤษฎีกลุ่มน้ีว่า “พฤติกรรมนิยม” (Behaviorism) ทฤษฎีกลุ่มน้ีแบ่งเป็นกลุ่มยอ่ยคือ ทฤษฎีการวางเง่ือนไข ซ่ึงยงัแบ่งยอ่ย ๕ ๕ ไดอี้ก ๒ ทฤษฎี คือ ทฤษฎีการวางเง่ือนไขแบบคลาสสิตและทฤษฎีการวางเง่ือนไขแบบการกระท า ทฤษฎี สมัพนัธเ์ช่ือมโยง ซ่ึงแบ่งยอ่ยไดอี้ก ๒ ทฤษฎี คือ ทฤษฎีสมัพนัธเ์ช่ือมโยงและทฤษฎีสมัพนัธ์ต่อเน่ือง ๒) ทฤษฎีกลุ่มความรู้ความเขา้ใจ(Cognitive Theories) ทฤษฎีน้ีมีแนวคิดเก่ียวกบัการเรียนรู้ว่าการเรียนเป็นการ ผสมผสานระหว่างขอ้มลูข่าวสารเดิมกบัขอ้มลูข่าวสารใหม่ หากผูเ้รียนมีขอ้มลูข่าวสารเดิมเช่ือมโยงกบั ขอ้มลูข่าวสารใหม่การรับรู้จะง่ายข้ึน (เขา้ถึงไดจ้าก :http;jennisa-lesson 4.blog spot.com[๒๕๕๕ , พฤษภาคม ๑๓]) ๕. การให้ค าปรึกษา ค าแนะน า และข้อเสนอแนะ หลกัการของการใหก้ารปรึกษา (Counseling) แบบสร้างแรงจูงใจ มีความเช่ือว่ามนุษยทุ์กคนมี ศกัยภาพท่ีจะเปล่ียนแปลงตนเองได ้บทบาทของผูใ้หก้ารปรึกษาจึงเป็นการช่วยใหผู้รั้บบริการมีโอกาสใช้ ศกัยภาพพฒันากระบวนการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมใหเ้กิดข้ึนได ้ประกอบดว้ยหลกัการส าคญัดงัน้ี ๑) แสดงความเขา้ใจผูรั้บบริการ (Express Empathy) โดยการฟังท่ีตั้งใจจะเขา้ใจความรู้สึก ไม่ตดัสินใจ ไม่ วิจารณ์ ช่วยใหเ้ขา้ใจถึงความลงัเล และมีเหตุผลในการสร้างแรงจูงใจท่ีจะเปล่ียนแปลง ๒) ช่วยใหก้ารรับ บริการเห็นถึงความขดัแยง้ (Develop Discrepancy) ท าใหช่้องว่างระหว่างพฤติกรรมปัจจุบนั กบัส่ิงท่ีตอ้ง บรรลุ จะช่วยใหก้ารเปล่ียนแปลงพฤติกรรมได ้ ๓) หลีกเล่ียงการทะเลอะวิวาทขดัแยง้หรือเอาชนะ (Avoid Argumentation) ซ่ึงถือว่าเป็นส่ิงไร้ประโยชน ์ ๔)โอนตามแรงตา้น (Roll with Resistance) เพื่อเปล่ียนการ รับรู้หรือมุมมองของผูรั้บบริการ แต่ไม่ไดบ้งัคบัใหเ้ห็นคลอ้ยตาม ๕) สนบัสนุนความเช่ือมัน่ใน ความสามารถของตนเองของผูรั้บบริการ (Support Seif - Efficacy) โดยส่ือใหผู้รั้บบริการรู้ว่าสามารถ ประสบความส าเร็จได ้ซ่ึงเป็นแรงจูงใจท่ีส าคญัยิง่ ส าหรับรูปแบบของการใหค้ าปรึกษาแบ่งได ้เป็น ๒ ประเภท คือ ๑) การใหค้ าปรึกษารายบุคคล (Individual Counseling)และ ๒) การใหค้ าปรึกษาแบบกลุ่ม (Group Counseling)(เขา้ถึงไดจ้าก : http;//www.idis.ru.ac.th/report/ index:php?topic=2924.0[๒๕๕๕ , พฤษภาคม ๑๒]) สรุป ภาวะผู้น าทางวชิาการ ครูผูส้อนจ าเป็นตอ้งมีคุณสมบติัการเป็นผูน้ าทางวิชาการทั้งดา้นภาระงาน และดา้นงานวิชาการ ตอ้งสามารถสร้างบรรยากาศเชิงบวกในชั้นเรียน คน้หาและเลือกใชน้วตักรรมการ บริหารจดัการชั้นเรียนแนวใหม่ รู้จกัใชจิ้ตวิทยาการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกบัผูเ้รียน และสามารถใหค้ าปรึกษา ค าแนะน า และขอ้เสนอแนะแก่ผูเ้รียนเป็นรายบุคคลไดอ้ยา่งเหมาะสม แนวทางการประยุกต์สู่การปฏิบัตใินสถานศึกษา ภาวะผู้น าทางวชิาการ ครูผูส้อนในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ตอ้งมีความรอบรู้ในภาระงานและ งานวิชาการของตนเอง พยายามสร้างบรรยากาศเชิงบวกในชั้นเรียนตามบริบทของสถานศึกษา คน้หาและ เลือกใชน้วตักรรมการบริหารจดัการชั้นเรียนแนวใหม่ท่ีเหมาะสมกบัผูเ้รียนและเน้ือหาสาระมากท่ีสุด รู้จกั ใชจิ้ตวิทยาการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกบัผูเ้รียน และควรใหค้ าปรึกษา ค าแนะน า และขอ้เสนอแนะแก่ผูเ้รียน เป็นรายบุคคลอยา่งสม ่าเสมอ ๖ ๖ บทที่ ๓ การวิเคราะห์บทบาทหน้าที ่ความรับผดิชอบ และวางแผนพฒันาคุณภาพการปฏิบัติงานของครูช านาญการพเิศษ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ ความเป็นครู ๑. พฒันาจติวญิญาณของความเป็นครู เพือ่สร้างเสริมคุณธรรมจริยธรรม การเสริมสร้างและพฒันาขา้ราชการครูเพื่อใหเ้ป็นผูม้ีคุณธรรมและจริยธรรม ซ่ึงจะก่อใหเ้กิดผลดี ต่อการเรียนรู้ไดอ้ยา่งมีประสิทธิภาพ สอดคลอ้งตามหลกัการและเจตนารมณ์แห่งกฎหมายรัฐธรรมนูญและ เยาวชนใหม้ี “ความรู้คู่คุณธรรม” ซ่ึงขา้ราชการครูตอ้งปฏิบติัหนา้ท่ีราชการใหส้อดคลอ้งกบัแนวทางตาม นโยบายของรัฐบาลในเร่ืองของการศกึษา ส านกังาน ก.ค.จึงใหค้วามส าคญัต่อการเสริมสร้างมาตรฐาน คุณธรรมจริยธรรมโดยมีหลกัส าคญั ๔ ประการ ไดแ้ก่ ๑) ด ารงชีวิตอยา่งเหมาะสม ปฏิบติัตนเป็น แบบอยา่งท่ีดีมีน ้ าใจ ใชจ่้ายอยา่งประหยดัเหมาะสมกบัฐานะ รู้รักสามคัคี ๒) ปฏิบติัหนา้ท่ีดว้ยความซ่ือสตัยสุ์จริต มีความรับผดิชอบ ตรงต่อเวลา ขยนัหมัน่เพียรมุ่งมัน่ในผลส าเร็จ ของงาน ๓) ยดึมัน่ในระบบคุณธรรม เป็นผูป้ระพฤติดี มีวนิยั ด ารงไวซ่ึ้งความถกูตอ้งและเป็นธรรม ๔) รักษาช่ือเสียงของหน่วยงาน โดยไม่กระท าการใดๆ อนัจะเป็นการเส่ือมเสียแก่หน่วยงานและเกียรติภูมิแห่ง ตน (เขา้ถึงไดจ้าก : http;//www.moego.th/webtes/mora/240446.htm [๒๕๕๕ , พฤษภาคม ๑๓]) ๒. วนิัยและจรรยาบรรณวชิาชีพครู การประเมินวินยั คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพครู เพื่อใหข้า้ราชการครู และ บุคลากรทางทางการศึกษามีและเล่ือนวิทยฐานะ(ช านาญการพิเศษ) จะประเมินใน ๖ เร่ือง ไดแ้ก่ ๑) พฤติกรรมการรักษาระเบียบวินยั ไดแ้ก่ การควบคุมการประพฤติปฏิบติัของตนเองใหอ้ยูใ่นกฎระเบียบของ หน่วยงานและสงัคมในกรณีมคีวามรับผดิชอบและซ่ือตรงต่อการปฏิบติัหนา้ท่ี โดยยดึถือประโยชน์ท่ีจะเกิดข้ึนต่อส่วนรวมเป็นส าคญั ๒) การประพฤติตนเป็นแบบอยา่งท่ีดี ไดแ้ก่ พฤติกรรมการปฏิบติัทั้งพฤติกรรมส่วนตนและพฤติกรรมการปฏิบติังาน ทั้งในเร่ืองความสามคัคีและวิถี ประชาธิปไตยในการด าเนินชีวิต ๓) การด ารงชีวิตอยา่งเหมาะสม ไดแ้ก่ การประพฤติปฏิบติัตนในการ ด ารงชีวิตท่ียดึหลกัความพอเพียง การหลีกเล่ียงอบายมุข การรู้รักสามคัคีและวิถีประชาธิปไตยในการ ด าเนินชีวติ ๔) ความรักและศรัทธาในวิชาชีพ ไดแ้ก่ ความพึงพอใจและอุทิศเวลาในการปฏิบติังานใน หนา้ท่ีดว้ยความวริิยะ อุตสาหะ โดยมุ่งผลส าเร็จท่ีเป็นความเจริญกา้วหนา้ของการจดัการศกึษา ๕) ความ รับผดิชอบในวิชาชีพ ไดแ้ก่ การปฏิบติังานในหนา้ท่ีโดยค านึงถึงความถกูตอ้ง ความซ่ือสตัยสุ์จริต และ ผลประโยชน์ของหน่วยงานและผูรั้บบริการเป็นส าคญั ๖)ค่านิยม และอุดมการณ์ของความเป็นครู และ บุคลากรทางการศึกษา ไดแ้ก่ ค่านิยมพ้ืนฐาน ๕ ประการ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ฯลฯ (เขา้ถึงไดจ้าก : http;//jan-ok.com/wiz ConID=36&txtm Memu-ID7[๒๕๕๕, พฤษภาคม ๑๓]) ๗ ๓. หลกัปรัชญา เศรษฐกจิพอเพยีง เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาท่ีพระบาทสมเด็จพระเจา้อยูห่วัทรงมีพระราชด ารัสช้ีแนะแนวทาง การด าเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า ๒๕ ปี ตั้งแต่ก่อนเกิดวกิฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ และเม่ือภายหลงัไดท้รงเนน้ย ้า แนวทางการแกไ้ขเพ่ือใหร้อดพน้ และสามารถด ารงอยูไ่ดอ้ยา่งมัน่คงและ ย ัง่ยนืภายใตก้ระแสโลกาภิวฒัน์และความเปล่ียนแปลงมีหลกัพิจารณา ดงัน้ี กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาท่ีช้ีแนะแนวทางการด ารงอยูแ่ละปฏิบติัตนในทางท่ีควรจะเป็นโดย มีพ้ืนฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสงัคมไทย สามารถน ามาประยกุตใ์ชไ้ดต้ลอดเวลา และเป็นการมองโลก เชิงระบบท่ีมีการเปล่ียนแปลงอยูต่ลอดเวลา มุ่งเนน้การรอดพน้จากภยัและวกิฤติ เพ่ือความมัน่คงและความ ย ัง่ยนืของการพฒันาคุณลกัษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถน ามาประยกุตใ์ชก้บัการปฏิบติัตนไดใ้นทุกระดบั โดยเนน้การปฏิบติับนทางสายกลาง และการพฒันาอยา่งเป็นขั้นตอน ค านิยาม ความพอเพียงจะตอ้ง ประกอบดว้ย ๓ คุณลกัษณะพร้อม ๆ กนั ดงัน้ี ๑) ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีท่ีไม่นอ้ยเกิดไป และไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียนตนเองและผูอ่ื้น เช่น การผลิตและการบริโภคท่ีอยูใ่นระดบัพอประมาณ ๒) ความมเีหตุผล หมายถึง การตดัสินใจเก่ียวกบัระดบัของความพอเพียงนั้นจะตอ้งเป็นไปอยา่งมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจยัท่ีเก่ียวขอ้งตลอดจนค านึงถึงผลท่ีคาดว่าจะเกิดข้ึนจากการกระท านั้น ๆ อยา่ง รอบคอบ ๓) การมภูีมคุ้ิมกนัทีด่ีในตวั หมายถึง การเตรียมตวัใหพ้ร้อมรับผลกระทบ และการเปล่ียนแปลง ดา้นต่าง ๆ ท่ีจะเกิดข้ึนโดยค านึงถึงความเป็นไปไดข้องสถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีคาดว่าจะเกิดข้ึนในอนาคตทั้ง ใกลแ้ละไกล เง่ือนไข การตดัสินใจและการด าเนินกิจกรรมต่าง ๆ ใหอ้ยูใ่นระดบัพอเพียงนั้น ตอ้งอาศยัทั้งความรู้ และคุณธรรมเป็นพ้ืนฐาน กล่าวคือ ๑) เง่ือนไขความรู้ ประกอบดว้ย ความรอบรู้เก่ียวกบัวิชาการต่าง ท่ี เก่ียวขอ้งอยา่งรอบดา้น ความรอบคอบท่ีจะน าความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาใหเ้ช่ือมโยงกนั เพ่ือประกอบการ วางแผนและความระมดัระวงัในขั้นปฏิบติั ๒) เง่ือนไขความธรรม ท่ีจะตอ้งเสริมสร้างประกอบดว้ย มีความ ตระหนกัในคุณธรรม มคีวามช่ือสตัยสุ์จริต และมีความอดทน มีความพากเพียร ใชส้ติปัญญาในการด าเนินชีวิตแนวทางปฏิบติั/ผลท่ีคาดว่าจะไดรั้บ จากการน าปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาประยกุตใ์ช ้คือ การพฒันาท่ีสมดุลและย ัง่ยนื พร้อมรับต่อการเปล่ียนแปลงในทุกดา้น ทั้ง ดา้นเศรษฐกิจ สงัคมส่ิงแวดลอ้ม ความรู้และเทคโนโลย(ีเขา้ถึงไดจ้าก : http;//www.inspect9.moe.go. th/economic-king80.htm[๒๕๕๕ , พฤษภาคม ๑๓]) สรุป ความเป็นครู ครูผูส้อนทุกคนจะตอ้งมีความตระหนกัในเร่ืองการพฒันาจิตวิญญาณของความเป็น ครู เพื่อสร้างเสริมคุณธรรมจริยธรรม และเป็นแบบอยา่งท่ีมีค่าแก่ผูเ้รียน และตอ้งรักษาวินยัและ จรรยาบรรณวิชาชีพครูอยา่งเคร่งครัด เพื่อเกียรติและศกัด์ิศรีแห่งวิชาชีพชั้นสูง นอกจากน้ี ควรนอ้มน า หลกัปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางในการด าเนินชีวิต เพื่อความส าเร็จและความกา้วหนา้ใน ทุกดา้นยิง่ข้ึนต่อไป ๘ แนวทางการประยุกต์สู่การปฏิบัตใินสถานศึกษา ความเป็นครู ไม่ว่าสถานศึกษาจะมีขนาดใหญ่หรือเลก็เพียงใด นกัเรียนจะมีจ านวนมากหรือนอ้ย เพียงใด ครูผูส้อนก็ควรตอ้งมีความตระหนกัในเร่ืองการพฒันาจิตวิญญาณของความเป็นครู เพื่อสร้างเสริม คุณธรรมจริยธรรม และเป็นแบบอยา่งท่ีดีและมีค่าแก่ผูเ้รียนอยา่งเสมอตน้เสมอปลาย ตอ้งรักษาวินยัและ จรรยาบรรณวิชาชีพครูอยา่งเคร่งครัด เพ่ือธ ารงไวซ่ึ้งเกียรติและศกัด์ิศรีแห่งวิชาชีพชั้นสูงและเพื่อ ประโยชน์สูงสุดของสถานศึกษา นอกจากน้ี ควรนอ้มน าหลกัปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็น แนวทางในการด าเนินชีวิต เพื่อความสุข ความส าเร็จและความกา้วหนา้ในทุกดา้นของชีวิตยิง่ข้ึนต่อไป หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ การวางแผนกลยุทธ์เพือ่พฒันาคุณภาพผู้เรียน ๑. การวเิคราะห์บทบาทหน้าที่ความรับผดิชอบเพือ่พฒันาคุณภาพผู้เรียน ครูกบันกัเรียนนบัว่าเป็นบุคคลท่ีมีความใกลชิ้ดกนัมากท่ีสุด จนกระทัง่ในอดีตยกยอ่งให ้ ครูเป็นบิดาคนท่ีสองของศิษย ์ผูป้กครองเมื่อส่งบุตรหลานเขา้โรงเรียนก็ฝากความหวงัไวก้บัครู กล่าวคือ มอบภาระต่าง ๆ ในการอบรมดูแล ลกูหลานของตนใหแ้ก่ครู ดงันั้น ครูจึงควรปฏิบติัหนา้ท่ีของครูให้ สมบูรณ์ท่ีสุด และควรสร้างมนุษยส์มัพนัธอ์นัดีระหว่างครูและศิษยใ์หแ้น่นแฟ้น ใหศ้ิษยม์ีความรู้สึกฝังใจ ตลอดไป วิธีการท่ีครูควรจะท าต่อศิษย ์เช่น สอนศิษยใ์หมี้ความสามารถในการเรียนรู้ในวิชาการต่าง ๆ ให้ มากท่ีสุด สอนใหศ้ิษยม์ีความสุขเพลิดเพลินกบัการเล่าเรียนไม่เบ่ือหน่าย อบรมดูแลความประพฤติของ ศิษยใ์หอ้ยูใ่นระเบียบวินยัหรือกรอบของคุณธรรม ไม่ปล่อยใหศิ้ษยก์ระท าชัว่ ดูแลความทุกขสุ์ขอยูเ่สมอ และเป็นท่ีปรึกษา ช่วยแกปั้ญหาต่างๆ ใหแ้ก่ ศิษย ์นอกจากน้ีครูยงัมีบทบาทหนา้ท่ีในการประสานงานกบั บุคคลต่างๆ เช่น ผูบ้ริหาร เพื่อนครู ชุมชนและท่ีส าคญัคือผูป้กครองนกัเรียนเพื่อแลกเปล่ียนขอ้มลู แสวงหา วิธีการร่วมกนั เพ่ือพฒันาผูเ้รียนใหเ้ป็นคนดี คนเก่ง และมคีวามสุขตามนโยบายปฏิรูปการเรียนรู้ต่อไป (เขา้ถึงไดจ้าก : http;// www.kroobannok.com/2603 [๒๕๕๕ , พฤษภาคม ๑๓]) ๒. การวางแผนกลยุทธ์เพือ่พฒันาคุณภาพผู้เรียน ๑) ภาพรวมของสถานศึกษา (School Profile) เป็นการน าเสนอขอ้มลูโดยสงัเขป เพื่อแสดงความ เป็นมา สภาพปัจจุบนัเป็นการน าเสนอขอ้มลูโดยสงัเขป และทิศทางในอนาคตของสถานศึกษา ๒) ทิศทางการจดัการศึกษาของสถานศึกษา ท่ีจะมุ่งมัน่สู่ความเป็นเลิศในการจดัการศกึษาใหแ้ก่ ชุมชน ซ่ึงประกอบดว้ยสาระส าคญั ดงัน้ี ๒.๑) วิสยัทศัน์ (Vision) เป็นเจตนารมณ์หรือความตั้งใจท่ีกวา้งๆ ครอบคลุมทุกภารกิจของสถานศึกษา มุ่งการคิดไปขา้งหนา้ แสดงถึงความคาดหวงัในอนาคต ขอ้ความ วิสยัทศัน์ จะส่ือถึงอุดมการณ์ หลกัการ ความเช่ือ และอนาคตท่ีพึงประสงคข์องสถานศึกษาและชุมชน ตอ้ง มีความชดัเจน เป็นเอกลกัษณ์ของสถานศึกษา ๒.๒) ภารกิจหรือพนัธกิจ (Mission) เป็นขอ้ความท่ีแสดง เจตนารมณ์และวิธีการด าเนินงานเพื่อใหบ้รรลุถึงวิสยัทศัน์ ๒.๓) เป้าหมายของสถานศึกษา (School Goals) เป็นขอ้ความท่ีระบุผลลพัธป์ลายทางท่ีสถานศึกษาจะด าเนินการใหบ้รรลุผลส าเร็จ ในช่วงระยะเวลาของ แผนพฒันาคุณภาพการศกึษา สถานศึกษาจะตอ้งก าหนดเป้าหมายท่ีครอบคลุมดา้นต่างๆ ท่ีจะเป็น ประโยชน์ต่อการด าเนินการ เช่น ในดา้นผลสมัฤทธ์ิของผูเ้รียน ดา้นหลกัสูตร และการเรียนการสอน ส่ิงแวดลอ้ม การจดัองคก์ร การพฒันาวชิาชีพ และการมีส่วนร่วมจดัการศึกษาของชุมชน เป็นตน้ ๙ ๓) แผนปฏิบติัการ เป็นแผนท่ีก าหนดกิจกรรมท่ีจะด าเนินการในแต่ละปี เพื่อใหบ้รรลุตาม เป้าหมายการพฒันาคุณภาพการศึกษา ประกอบดว้ย รายละเอียดขั้นตอนการปฏิบติัเพื่อใหบ้รรลุเป้าหมายท่ี ก าหนด ผูรั้บผดิชอบแต่ละกิจกรรม กรอบเวลา งบประมาณ และแหล่งงบประมาณ ๔) การระดมทรัพยากร ในแผนพฒันาคุณภาพการศกึษาจะตอ้งแสดงใหเ้ห็นถึงแหล่งสนบัสนุน งบประมาณและสรุปงบประมาณในแผนพฒันาคุณภาพ ซ่ึงจะตอ้งบอกจ านวนงบประมาณท่ีจะตอ้งใชใ้นแต่ ละปี และแหล่งท่ีสถานศึกษาจะสมารถระดมทรัพยากรและสนบัสนุนงบประมาณได ้ ๕) การประสานความร่วมมือกบัหน่วยงานเครือข่ายและแหล่งวิทยาการภายนอก เพื่อสนบัสนุนทาง วิชาการ เพื่อการด าเนินงานพฒันาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ซ่ึงควรจะตอ้งเขียนไวใ้นแผนพฒันา คุณภาพการศกึษาดว้ย (เขา้ถึงไดจ้าก : http;//www.sobdai.com/knowledge-for-teacher-assistants/659-2011- 09-27-14-57-12.html[๒๕๕๕ , พฤษภาคม ๑๓]) ๓. การวจิยัเพือ่พฒันาคุณภาพผู้เรียน การวจิยัในชั้นเรียน ภาษาองักฤษเรียกว่า Classroom Research คือกระบวนการหาความรู้หรือ วิธีการใหม่ๆ รวมทั้งการประดิษฐคิ์ดคน้ส่ิงใหม่ ๆ เพ่ือน ามาใชใ้นการเรียนการสอนเพ่ือแกปั้ญหาท่ีเกิดจาก การเรียนการสอนในชั้นเรียนของตนเอง หรือเพ่ือพฒันาการเรียนรู้ของนกัเรียน ผลการวจิยัใชไ้ดเ้ฉพาะ กลุ่มท่ีท าการศึกษา บางทีเราเรียกว่า การวิจยัเชิงปฏิบติัการในชั้นเรียน (Classroom Action Research) หรือ การวจิยัเพ่ือพฒันาการเรียนรู้ ผูท้ าวิจยัในชั้นเรียนคือ ครูผูส้อน การวจิยัเพ่ือพฒันาการเรียนรู้มีขั้นตอนดงัน้ี ๑) วิเคราะห์ปัญหา/การพฒันา ๒) วางแผนแกปั้ญหา/ การพฒันา ๓) จดักิจกรรมแกปั้ญหา/การพฒันา ๔) เก็บรวบรวมขอ้มลู วิเคราะห์ขอ้มลู ๕) สรุปผลการ แกปั้ญหา/การพฒันา (เขา้ถึงไดจ้าก : http;//www.sobdai.com/knowledge-for-teacher-assistants/659- 2011-09-27-14-57-12.html[๒๕๕๕ , พฤษภาคม ๑๓]) สรุป การวางแผนกลยุทธ์เพือ่พฒันาคุณภาพผู้เรียน ครูผูส้อนตอ้งวิเคราะห์บทบาทหนา้ท่ีความ รับผดิชอบของตนเองเพื่อการปฏิบติัหนา้ท่ีในการเติมเต็มศกัยภาพของผูเ้รียนอยา่งสุดความสามารถ สามารถวางแผนกลยทุธใ์หค้รอบคลุมทุกดา้นเพื่อพฒันาคุณภาพผูเ้รียน นอกจากน้ียงัตอ้งจดัท าวิจยัเพื่อ พฒันาคุณภาพผูเ้รียนใหบ้รรลุผลตามเป้าหมายท่ีหลกัสูตรก าหนด แนวทางการประยุกต์สู่การปฏิบัตใินสถานศึกษา การวางแผนกลยุทธ์เพือ่พฒันาคุณภาพผู้เรียน ครูผูส้อนตอ้งวิเคราะห์บทบาทหนา้ท่ีความ รับผดิชอบของตนเองเพื่อการปฏิบติัหนา้ท่ีในการเติมเต็มศกัยภาพของผูเ้รียนอยา่งสุดความสามารถตาม บริบทของสถานศึกษา ตอ้งวางแผนกลยทุธใ์หค้รอบคลุมทุกดา้นท่ีเอ้ือต่อการพฒันาคุณภาพผูเ้รียน มีการ จดัท าวิจยัชั้นเรียนตามสภาพจริง โดยมุ่งแกปั้ญหาหรือพฒันาผูเ้รียนเป็นส าคญั เพื่อพฒันาคุณภาพผูเ้รียน ใหบ้รรลุผลตามเป้าหมายท่ีหลกัสูตรก าหนด ๑๐ http://www.sobdai.com/knowledge-for-teacher-assistants/659-2011-09-27-14-57-12.html http://www.sobdai.com/knowledge-for-teacher-assistants/659-2011-09-27-14-57-12.html http://www.sobdai.com/knowledge-for-teacher-assistants/659-2011-09-27-14-57-12.html http://www.sobdai.com/knowledge-for-teacher-assistants/659-2011-09-27-14-57-12.html บรรณานุกรม คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน, ส านกังาน. ๒๕๕๒. หลกัสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑. พิมพค์ร้ังท่ี ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพชุ์มชนสหกรณ์การเกษตร แห่งประเทศไทยจ ากดั. . ๒๕๕๓. แนวทางการจดัการเรียนรู้ตามหลกัสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑. พิมพค์ร้ังท่ี ๒. กรุงเทพฯ : โรงพิมพชุ์มชนสหกรณ์การเกษตร แห่งประเทศไทยจ ากดั. . ๒๕๕๔. แนวทางการประเมนิคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพืน้ฐาน เพือ่ประกนัคุณภาพภายในของสถานศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพส์ านกังานพระพุทธศาสนา แห่งชาติ. เฉลิม ฟักอ่อน. ๒๕๕๒. การออกแบบการจดัการเรียนรู้องิมาตรฐาน. ล าพนู : มปท. พรรณี ชูทยั (ออนไลน)์ เขา้ถึงไดจ้าก : http; llgs212multiply,com/journal/item/4. ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๕๕. เอกรินทร์ ส่ีมหาศาล และคณะ. มปป. สู่การใช้หลกัสูตรแกนกลางฯ ๕๑. กรุงเทพฯ : บริษทัอกัษรเจริญทศัน์ อจท.จ ากดั. (ออนไลน์) เขา้ถึงไดจ้าก: http; //www.kroobannok.com/blog/20426. ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๕๕. (ออนไลน์) เขา้ถึงไดจ้าก: http;//www.idis.ru.ac.th/report/index:php?topic=2924.0. ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๕๕. (ออนไลน์) เขา้ถึงไดจ้าก: http; /www.northeducation.ac.th/etraining/courses/3/itedu/chap1/index07- 12ph. ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๕. (ออนไลน์) เขา้ถึงไดจ้าก:http;jennisa-lesson 4.blog spot.com. ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๕. (ออนไลน์) เขา้ถึงไดจ้าก: http;//www.moego.th/webtes/mora/240446.htm. ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๕. (ออนไลน์) เขา้ถึงไดจ้ากhttp;//jan-ok.com/wiz ConID=36&txtm Memu-ID7. ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๕. (ออนไลน์) เขา้ถึงไดจ้าก: http;//www.inspect9.moe.go.th/economic-king80.htm. ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๕. (ออนไลน์) เขา้ถึงไดจ้าก: http;// www.kroobannok.com/2603. ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๕. (ออนไลน์) เขา้ถึงไดจ้าก: http;//www.sobdai.com/knowledge-for-teacher-assistants/659-2011-09-27-14-57-12.html. ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๕. http://www.sobdai.com/knowledge-for-teacher-assistants/659-2011-09-27-14-57-12.html


Comments

Copyright © 2025 UPDOCS Inc.