คู่มือการใช้ dialux

April 25, 2018 | Author: Anonymous | Category: Documents
Report this link


Description

คูมือการออกแบบและคํ านวณระบบไฟฟาแสงสว าง โดยโปรแกรม DIALux USER MANUAL OF LIGHTING SYSTEM DESIGN AND CALCULATION BY PROGRAM DIALux สุริยปกร งามสรรพศิริ ปริญญานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิ ต ภาควิชาวิ ศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลั ยบูรพา ปการศึกษา 2551 คูมือการออกแบบและคํ านวณระบบไฟฟาแสงสว าง โดยโปรแกรม DIALux USER MANUAL OF LIGHTING SYSTEM DESIGN AND CALCULATION BY PROGRAM DIALux สุริยปกร งามสรรพศิริ ปริญญานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิศวกรรมศาสตบั ณฑิต ภาควิชาวิ ศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลั ยบูรพา ปการศึกษา 2551 USER MANUAL OF LIGHTING SYSTEM DESIGN AND CALCULATION BY PROGRAM DIALux SURIYAPAKORN NGAMSUPSIRI A THESIS SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF REQUIREMENT FOR THE DEGREE OF BACHELOR OF ENGINEERING DEPARTMENT OF ELECTRICAL ENGINEERING BURAPHA UNIVERSITY 2008 ปริญญานิพนธ คูมือการออกแบบและคํานวณระบบไฟฟาแสงสวางโดยโปรแกรม DIALux โดย นายสุริยปกรงามสรรพศิริ อาจารยที่ปรึกษา ผูชวยศาสตราจารยปราณีวงคจันทรตะ จํานวนหนา 100 หนา ปการศึกษา 2551 ภาควิ ชาวิ ศวกรรมไฟฟ า คณะวิ ศวกรรมศาสตร มหาวิ ทยาลัยบู รพา อนุ มัติ ปริ ญญานิ พนธนี้เป น สวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิศกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา ...................................................ประธานกรรมการสอบปริญญานิ พนธ (อาจารย ดร. โกวิท มาศรัตน) ...................................................กรรมการสอบปริญญานิ พนธ (อาจารย ณัฐพันธ ถนอมสัตย) ...................................................อาจารยที่ปรึกษา (ผูชวยศาสตราจารยปราณี วงคจันทรตะ) ...................................................หัวหนาภาควิชาวิ ศวกรรมไฟฟา (ผูชวยศาสตราจารย ดร. ณยศ คุรุกิจโกศล) i บทคัดยอ ในป จจุ บันคู มื อการใชโปรแกรมไดอะลักซไม มี ในรู ปแบบภาษาไทยทํ าใหการใชโปรแกรมนี้ไม ประสบผลสํ าเร็ จตามความคาดหวัง ดวยเหตุ ผลดังกล าวจึ งไดเสนอโครงงานนี้ขึ้นโดยมี วัตถุ ประสงคเพื่ อ พัฒนาทักษะและสรางผลงานโดยใชโปรแกรมไดอะลักซไดดวยตนเอง โดยจัดทํ าคู มื อการใชโปรแกรมใน รู ปแบบภาษาไทยเพื่ อออกแบบและคํ านวณระบบไฟฟ าแสงสว างภายในอาคารเท านั้นซึ่ งแบ งเนื้อหาที่ อธิบายออกเปน 5 บท คือ การลงโปรแกรม, ไดอะลักซวิซารด, เครื่ องมื อภายในโปรแกรม , การแสดงผล และ ตัวอย างการใช โปรแกรม จากนั้นทํ าการทดสอบโดยการกํ าหนดค าความส องสว างของ หองปฏิ บัติ การ 500 ลักซ, ขนาดของหอง, สัมประสิ ทธิ์การสะทอนแสง,ชนิ ดของโคมและหลอดไฟฟ า เพื่ อหาจํ านวนของหลอดไฟฟ า ทํ าการคํ านวณโดยวิ ธี ลู เมนเปรี ยบเที ยบกับการคํ านวณดวยโปรแกรม ไดอะลักซ ผลของการคํ านวณพบว าวิ ธี ลู เมนไดจํ านวนหลอด 68 หลอด ส วนโปรแกรมไดอะลักซได จํานวนหลอด 72 หลอด พบวาจํานวนหลอดมีคาใกลเคี ยงกันจึ งสรุ ปไดว าการคํ านวณโดยโปรแกรมไดอะ ลักซมี ความน าเชื่ อถื อและสามารถใชเป นเครื่ องมื อในการออกแบบระบบไฟฟ าแสงสว างได จากนั้นทํ า การประเมิ นผลของคู มื อการใชโปรแกรมไดอะลักซที่ จัดทํ าขึ้นเพื่ อวัดประสิ ทธิ ภาพของคู มื อ โดยใหกลุ ม ตัวอยางผูประเมิ นทดลองใชโปรแกรมไดอะลักซตามขั้นตอนภายในคู มื อที่ จัดทํ าขึ้น สรุ ปไดว าคู มื อการใช โปรแกรมไดอะลักซมีประสิทธิภาพรอยละ 87 คําสําคัญ : ไดอะลักซ, ไดอะลักซวิซารด, การแสดงผล, วิธีลูเมน ii Abstract Inthepresent,theUserManualoflightingsystemdesignandcalculationbyprogram DIALux have not been in thai language. The user did not success to used program following the expectation.Theobjectiveofthisprojecthavewritten User Manual of program DIALux in thai language for indoor lighting system design and calculation only, and developing the user’s skill and design lighting system. The substance are distributed to five chapters, installation, DIALux WIZARD, Tools, outputs and the example. The configuration of illumination at 500 lx, size of the room,reflectcoefficientofroomsurface,lampandlluminairetype.ThecalculationinLumen method to compare with program DIALux. As the result, there are 68 lamps in Lumen method and72lampsinprogramDIALux.Therefore,programDIALuxhasthereliabilitytousein lightingsystemdesign.AfterthattoestimatetheUserManualbychoosethesampleuserto practical this program, As the result, the User Manual of lighting system design and calculation by program DIALux have 87 percent efficient. Keywords : DIALux ,DIALuxWIZARD, outputs, Lumen method iii กิตติกรรมประกาศ โครงงานคูมือการใชโปรแกรมออกแบบและคํานวณระบบไฟฟาแสงสวางDIALUX ขอขอบคุณ คุณปญจรัตน เดชกุญชร และคุณมธุรส อภัยจิต ที่ไดชวยใหคําแนะนําเกี่ยวกับเรื่องเทคนิคการพิมพรูป เล มคู มื อ ขอขอบคุ ณ คุ ณดิ ษฐพงศ ประพันธวัฒนะ ที่ ไดช วยใหคํ าแนะนํ าเกี่ ยวกับขอมู ลเชิ งลึ กของ โปรแกรม DIALUX นอกจากนี้ยังมี บุ คคลอี กหลายท านที่ ไม สามารถกล าวนามไดทั้งหมดที่ มี ส วนช วยในการ จัดทําโครงงานนี้ใหสําเร็จลุลวงไปไดดวยดีผูจัดทําโครงงาน จึงขอขอบพระคุณมา ณ ที่นี้ดวย iv สารบัญ หนา บทคัดยอ………………………………………………………………………..………………………... i Abstract……………………………………………………………………………..……………………ii กิตติกรรมประกาศ…………………………………………………………………..…………………… iii สารบัญ……………………………………………………………………………..…………………….. iv สารบัญรูป……………………………………...…………………………………………..…………….. vii สารบัญตาราง…………………………………………………………………………………..………...x รายการสัญลักษณและคํายอ..........................................................................................................xi บทที่ 1 บทนํา………………………………………………………………………………...………….. 1 1.1 หลักการและเหตุผล..............................…….………………………………………......... 1 1.2 วัตถุประสงค…………………………………………………………………………….......1 1.3 ขอบเขตของการทําโครงงาน…………………………………………………………........2 1.4 แผนการดําเนินงาน..............................................................................……………….. 2 1.5 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ...…………………….……………………………………........ 3 บทที่ 2 ทฤษฎี ...................................………………………...……………………………………...... 4 2.1 ทฤษฎี ………………………………………………………………………...………...…... 4 2.1.1 ความหมายของการเขียน...........................................................……………...... 4 2.1.2 จุดมุงหมายของการเขียน..................………..……………………….…….…....... 4 1. การเขียนเพื่ ออธิบายความ............................................................................4 2. การเขียนเพื่ อจูงใจ……………………………………………………………..… 4 2.1.3 ประเภทของการเขียน...............…….…………..………………………...………..4 2.1.4 บทความทางวิชาการ (Technical papers)……………………………………….... 4 1. ความหมายของบทความทางวิชาการ............................................................4 2. รูปแบบของการเขียนงานทางวิชาการ............................................................ 5 3. สวนประกอบของบทความทางวิชาการ..........................................................5 2.1.5 ลักษณะของบทความทางวิชาการที่ดี..................................................................6 2.1.6 ขั้นตอนการทําหนังสือ........................................................................................ 6 2.1.7 ไมโครซอฟทเวิรด (MicrosoftWord)……………………………………………...7 2.1.8 โฟโตสเคป (PhotoScape)……………………………………………………..…… 8 2.1.9 ดวงโคมไฟฟา (Luminaire)……………………………………………………..…..13 v สารบัญ (ตอ) หนา 2.1.10 ทฤษฎี พื้นฐานของแสง..................................................................................... 16 2.1.11 การออกแบบระบบไฟฟาแสงสวางภายในอาคาร............................................... 17 2.1.12 กฏของการสองสวาง........................................................................................ 18 2.1.13 การจัดวางดวงโคม..........................................................................................20 2.1.14 องคประกอบที่ทําใหความสว างภายในหองลดลง............................................... 22 2.1.15 การแบงสวนโพรงหอง (Zonal Cavity Method)……………………………….....24 2.1.16 อัตราส วนโพรง (Cavity Ratio)………………………………………………….… 24 2.1.17 สัมประสิทธิ์การใชประโยชน(Coefficient of Utilization : CU)………………..... 25 2.1.18 วิธีการของหลักการสอดแทรก (Principle of Interpolation)…………………......25 2.1.19 วิธีคํานวณหาปริมาณแหงการสองสวางโดยวิธีการหาปริมาณจํานวนเสนแรง ของแสงสวาง (Lumen Method)………………………..........………………...... 26 บทที่ 3 หลักการ แนวคิด และการออกแบบโครงงาน....................................................................... 29 3.1 หลักการและแนวคิด.................................................………………..………..…………29 3.2 ขั้นตอนในการออกแบบโครงงาน........................……...………………………….……...29 3.3 ศึกษาการทํางานของโปรแกรม DIALux………………………………………….….……. 31 3.4 กําหนดหัวขอของเนื้ อหาที่จัดทําเปนคูมือ.....................................................................33 3.5 เลือกโปรแกรมที่นํามาใชในการจัดทําคูมือ.................................................................... 34 3.6 หลักในการเลือกใชโปรแกรมที่นํามาใชในการจัดทําคูมือ...............................................34 3.7 ตรวจแกต นฉบับแรก...................................................................................................35 3.8 ตั้งชื่อหนังสือและตกแตงความสวยงาม......................................................................... 35 3.9 จัดทําคูมือ................................................................................................................... 39 3.10 ประเมินผล................................................................................................................ 47 บทที่ 4 วิธีการทดลองและผลการทดลอง....................………………………….…………………...... 48 4.1 การทดลองที่ 1 เปรียบเทียบผลการคํานวณระหวางทฤษฎีลูเมนกับโปรแกรมDIALux....48 4.1.1 อุปกรณ ที่ใชในการทดลอง.................................................................................. 48 4.1.2 วิธีการทดลอง.................................................................................................... 48 4.1.3 ผลการทดลอง...................................................................................................56 4.2 การทดลองที่ 2 ประเมิ นผลคูมือ...................................................................................57 4.2.1 อุปกรณ ที่ใชในการทดลอง.................................................................................. 57 vi สารบัญ (ตอ) หนา 4.2.2 วิธีการทดลอง.................................................................................................... 57 4.2.3 ผลการทดลอง...................................................................................................59 บทที่ 5 สรุปผลการทดลองและขอเสนอแนะ.....................……..…………………………………......60 5.1 สรุปผลการทดลอง…………………..………………………………..…………………..... 60 5.2 ขอเสนอแนะ…………………...…………………………………………………………....60 เอกสารอางอิง...............................................................................................................................61 ภาคผนวก..................................................................................................................................... 62 ภาคผนวก ก คําจํากัดความและคําที่ใชกันทั่วไป...........................................…………..….. 63 ภาคผนวก ข การพิจารณาการออกแบบระบบแสงสวางในอาคารสํานักงาน..............……....64 ภาคผนวก ค อัตราสวนโพรงที่ไมใชหองสี่เหลี่ยม....................................……………..……67 ภาคผนวก ง การสรางตัวอักษรหลอดไฟนีออนดวย Photoshop 7.0.......................................70 ภาคผนวก จ คาเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic Mean)............................................................. 77 ภาคผนวก ฉ สัมประสิทธิ์การสะทอนแสงของวัสดุ..............................................................78 ภาคผนวก ช คาความสองสวางที่นิยมใชในสถานที่ตางๆ.....................…………..……....…79 ภาคผนวก ซ ผลการใชตารางสําหรับประเมินคูมือการใชโปรแกรมออกแบบและคํานวณระบบ ไฟฟาแสงสวาง DIALux Version 4.4……………………………………….……... 86 vii สารบัญรูป รูปที่ หนา 2.1 การตั้งค าระยะขอบ...............................................................................................................8 2.2 การตั้งหนากระดาษใหเปน 2 หนาตอแผน.............................................................................8 2.3 หนาตางเริ่มตนโปรแกรม PhotoScape……..…………….………………………………..……. 9 2.4 หนาตางโปรแกรม PhotoScape.………………………………………….………………..…….9 2.5 เลื อกภาพที่ตอการ................................................................................................................ 10 2.6 แถบเครื่ องมือของโปรแกรม PhotoScape.………………….……………………………..…….10 2.7 หนาตางรูปของโปรแกรม PhotoScape……...………...………………………………..……….10 2.8 การตกแตงรูปที่ตองการ........................................................................................................11 2.9 การกําหนดลักษณะของเสน……..………………………………………………………..………11 2.10 แสดงภาพที่วาดเสนแลว........................................................................................................ 12 2.11 เซฟภาพที่ตกแตงแลว...........................................................................................................12 2.12 FolderOriginals……..……………………………………………………………………...……. 12 2.13 ดวงโคมไฟฟาแบบหอย......................................................................................................... 13 2.14 ดวงโคมไฟฟาสําหรับยึดติดกับเพดาน...................................................................................13 2.15 ดวงโคมไฟฟาสําหรับยึดติดเขาไปในเพดาน........................................................................... 14 2.16 คลื่นความยาวแสงที่มองเห็นได.............................................................................................16 2.17 กําลังสองผกผัน..................................................................................................................... 18 2.18 กฏโคไซนของแลมเบิร ต........................................................................................................19 2.19 การติดตั้งดวงโคมไฟฟ าแบบตอเนื่อง..................................................................................... 21 2.20 การติดตั้งดวงโคมไฟฟ าแบบปกติ..........................................................................................21 2.21 การแบงสัดสวนโพรงห อง......................................................................................................24 3.1 Flowchart ขั้นตอนดําเนินงานการจัดทําหนังสือคูมือการใชโปรแกรม DIALux..…………..…...30 3.2 Flowchart ขั้นตอนการใชโปรแกรม DIAlux……....................................................................31 3.3 ภาพหน าปกของหนังสื อคูมือ................................................................................................. 36 3.4 ตกแตงเลขหนาบทที่ 1.......................................................................................................... 37 3.5 ตกแตงเลขหนาบทที่ 2.......................................................................................................... 37 3.6 ตกแตงเลขหนาบทที่ 3.......................................................................................................... 37 3.7 ตกแตงเลขหนาบทที่ 4.......................................................................................................... 38 3.8 ตกแตงเลขหนาบทที่ 5.......................................................................................................... 38 3.9 ตกแตงขอบกระดาษบทที่ 1..................................................................................................38 3.10 ตกแตงขอบกระดาษบทที่ 2...................................................................................................39 viii สารบัญรูป (ตอ) รูปที่ หนา 3.11 ตกแตงขอบกระดาษบทที่ 3...................................................................................................39 3.12 ตกแตงขอบกระดาษบทที่ 4................................................................................................... 39 3.13 ตกแตงขอบกระดาษบทที่ 5 .................................................................................................. 39 3.14 การเรียงหนาปกติ.................................................................................................................40 3.15 ไฟลสําหรับพิมพคูมือ............................................................................................................42 3.16 การจัดเรี ยงลําดับหนาของไฟล PrintProject ดานนอก............................................................ 42 3.17 การจัดเรี ยงลําดับหนาของไฟล PrintProject ดานใน .............................................................. 43 3.18 ผลลัพธจากการพิมพ ............................................................................................................ 43 3.19 รูปเลมหนังสือ ......................................................................................................................44 3.20 ขอบเขตในการพิมพของ Printer ………………………………………………..………………..44 3.21 เปรียบเทียบภาพที่ถูกตองกับปญหาที่เกิดในการพิมพ............................................................45 3.22 แกปญหาการพิมพ................................................................................................................45 3.23 หนังสือคู มือการใช DIALux ดานหนา.....................................................................................46 3.24 หนังสือคู มือการใช DIALux ดานหลัง.....................................................................................47 4.1 ดวงโคมไฟฟาและกราฟการกระจายแสง................................................................................ 49 4.2 ระดับการติดตั้งดวงโคมไฟฟา.....................................…………………………………………. 49 4.3 กําหนดขนาดหอง................................…………………………………..................................53 4.4 กําหนดสัมประสิทธิ์การสะทอนแสง........................................................................................ 53 4.5 กําหนดค า Maintenance factor………………………………………………………….............53 4.6 กําหนดความสูงของพื้นที่ทํางาน...........................................................................................54 4.7 ดวงโคมไฟฟา Sylvania 58 W 5200 ลูเมน...........................................................................54 4.8 ความสูงการติดตั้งดวงโคม....................................................................................................54 4.9 กําหนดค าความสองสว าง...................................................................................................... 55 4.10 การวางดวงโคม....................................................................................................................55 4.11 เสนแหงการสองสวาง............................................................................................................56 ค.1 หองรูปตัว L (L-Shaped Room)………................................................................................67 ค.2 หองรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก (Triangular Room)...................................................................... 68 ค.3 หองรูปวงกลม(CircularRoom)………………………………………….................................. 68 ค.4 หองรูปหกเหลี่ยม (HexagonalRoom)................................................................................69 ง.1 หนาตางแสดงภาพ ..............................................................................................................69 ง.2 ตัวอักษร ..............................................................................................................................69 ix สารบัญรูป (ตอ) รูปที่ หนา ง.3 คําสั่งเปลี่ยน Text เปน Layer ……………………………………………………………..……..70 ง.4 Text เปลี่ ยนเปน Layer ………………………………………………………………..…………. 71 ง.5 คําสั่ง Color Range ……………………………………………………………………...….……. 71 ง.6 หนาตาง Color Range …………………………………………………………………..…......... 71 ง.7 ผลลัพธจากคําสั่ง Color Range ………………………………………………………...………... 71 ง.8 คําสั่ง Contract ……………………………………………………………………………………. 72 ง.9 หนาตางคําสั่ง Contract …………………………………………………………………..………72 ง.10 ผลลัพธจากขั้นตอนที่ 6 ........................................................................................................72 ง.11 Copy Layer…………………………………………….……………………………………...…… 73 ง.12 Layer ที่เพิ่มขึ้น..................................................................................................................... 73 ง.13 เพิ่ม Layer ที่ใชคําสั่ง Blur……..………………………………………………………..………...73 ง.14 ผลลัพธจากคําสั่ง Blur……..……………………………………………………………..………..73 ง.15 คําสั่ง Grayscale……..……………………………………………………………………..……...74 ง.16 Fletten Image……..…………………………………………………………………………..…... 74 ง.17 คําสั่ง Color Balance……..…………………………………………………………………..…… 75 ง.18 หนาตาง Color Balance…………………………………………………………..………………. 75 ง.19 Color Levels…..................................................................................................................... 75 ง.20 Midtones…………………………………………………………………………………………… 75 ง.21 Highlights………………………………………………………………………..………….……… 75 ง.22 ภาพเสร็จสิ้น.........................................................................................................................76 x สารบัญตาราง ตารางที่หนา 1.1แผนการดําเนิ นงาน…………………………………………………………………….……….. 3 2.1แสดงกราฟเปรียบเทียบการกระจายกําลังการสองสวางของแสงสวางของดวงโคมไฟฟาแต ละประเภทของ CIE และ IES (ที่มา: Illumination Engineering. 1980 : 129 ).……............ 15 2.2แสดงคาความสามารถในการสะทอนแสงสวางของสวนตางๆในสํานักงานที่เหมาะสม........... 17 3.1ตารางคูหนากระดาษ (ดัมมี่)..............................................................................................41 4.1แบบประเมินคู มือการใชโปรแกรมออกแบบและคํานวนระบบไฟฟาแสงสวาง DIALux Version 4.4.…………………………………………………………………………………….. 58 4.2 คะแนนผลการประเมินคูมือ DIALux Version 4.4…………………………...………….…….. 59 xi รายการสัญลักษณและคํ ายอ สัญลักษณหนวยคําอธิบาย CCR-อัตราสวนโพรงเพดาน CU-สัมประสิทธิ์การใชประโยชนดวงโคมไฟฟา Eลักซปริมาณแหงการสองสวาง FCR-อัตราสวนโพรงพื้น K เคลวินอุณหภูมิของการเผาวัตถุดํา L เมตรความยาวของหอง Iลูเมนปริมาณจํานวนเสนแรงของแสงสวางที่ออกจากดวง โคมไฟฟา LBO-คาตัวประกอบหลอดไฟฟาเสีย LDD -คาความเสื่อมสภาพของแสงสวางจากความสกปรก ของดวงโคม LLD-คาความเสื่อมสภาพของหลอดไฟฟา MF-ตัวประกอบการบํารุงรักษา (LDD x LLD) RCR -อัตราสวนโพรงหอง RSDD-คาความเสื่อมสภาพของแสงสวางจากพื้นผิวหอง สกปรก Wเมตรความกวางของหอง X เมตรระยะหางระหวางดวงโคมในแนวแกน X Y เมตรระยะหางระหวางดวงโคมในแนวแกน Y nmความยาวคลื่นแสง %ความสามารถในการสะทอนแสงของโพรงเพดาน (Ceiling Reflectance) -คาประสิทธิผลการสะทอนแสงสวางของโพรง เพดาน (Effective Ceiling Reflectance) %ความสามารถในการสะทอนแสงของโพรงพื้น (Floor Reflectance) -คาประสิทธิผลการสะทอนแสงสวางของโพรงพื้น (Effective Floor Reflectance) %ความสามารถในการสะทอนแสงของผนัง(Floor- Reflectance) E av ลักซความสองสวางเฉลี่ย xii E max ลักซความสองสวางสูงสุด E min ลักซความสองสวางต่ําสุด E totoal ลักซคาความสองสวางเฉลี่ยรวมภายในหอง h cc เมตรความสูงของโพรงเพดาน h fc เมตรความสูงของโพรงพื้น h rc เมตรความสูงของโพรงหอง L total ลูเมนปริมาณจํานวนเสนแรงของแสงสวางที่ออกจากดวง โคมไฟฟาทั้งหมด u0 -อัตราสวนระหวาง E min / E av - คาเฉลี่ยเลขคณิต 1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 หลักการและเหตุผล DIALuxคื อโปรแกรมที่ สามารถออกแบบและคํ านวณระบบไฟฟ าแสงสว างไดอย างชัดเจนซึ่ ง เป นประโยชนต อการเรี ยนการสอนในวิ ชาวิ ศวกรรมการส องสว างเป นอย างยิ่ งโปรแกรมจะมี ส วนของ Plug – in ซึ่ งเป นขอมู ลของโคมไฟฟ า และหลอดไฟแต ละแบบ ใหสามารถนํ ามาใส ในแบบจํ าลองที่ สราง ขึ้นมาไดและโปรแกรมสามารถแสดงผลของการส องสว าง จากโคมไฟฟ าที่ ใชออกมาไดอย างสมจริ ง เปนประโยชนในการจําลองการออกแบบระบบไฟฟาแสงสวางกอนที่จะนําไปสรางจริง วิ ชา IlluminationEngineeringคื อวิ ชาเกี่ ยวกับการศึ กษาพื้นฐานธรรมชาติ ของแสง การ มองเห็ นทฤษฏี การเกิ ดสี ทํ าความเขาใจกับการทํ างานของหลอดไฟฟ าชนิ ดต างๆ และต อเนื่ องไปถึ ง การคํ านวณระบบไฟฟ าแสงสว างในสถานที่ ต างๆจนสามารถออกแบบระบบไฟฟ าแสงสว างใหไดตาม มาตรฐานที่ กํ าหนดไวซึ่ งโปรแกรม DIALuxสามารถนํ ามาใชเพื่ อใหเกิ ดความสมจริ งในการออกแบบ ระบบไฟฟาแสงสวางและงายตอการแสดงผลที่ทําใหสามารถตัดสินใจไดงายยิ่งขึ้น ในป จจุ บัน คู มื อการใชโปรแกรมDIALuxมี แต คู มื อภาษาต างประเทศทั้งนั้นไม มี ในรู ปแบบ ภาษาไทย ทํ าใหการใชโปรแกรมนี้ไม ประสบผลสํ าเร็ จตามความคาดหวัง ดวยเหตุ ผลดังกล าวจึ งไดเสนอ โครงงานนี้ขึ้นเพื่อจัดทําคูมือการใชโปรแกรมในรูปแบบภาษาไทยโดยมี วัตถุ ประสงค ใหผูสนใจสามารถ เขาใจไดง ายสามารถใชโปรแกรมในการออกแบบระบบไฟฟ าแสงสว างไดและเกิ ดแรงจู งใจที่ จะเรี ยนรู รวมทั้งสามารถพัฒนาทักษะของผูใชทํ าใหการเรี ยนรูดานการออกแบบระบบไฟฟ าแสงสว างมี ประสิทธิภาพสูงสุด 1.2 วัตถุประสงค 1. เพื่อใชเปนคูมือในการออกแบบระบบไฟฟาแสงสวางดวยคอมพิวเตอร 2. เพื่ อใชเป นอุ ปกรณในการสนับสนุ นการเรี ยนการสอนวิ ชาวิ ศวกรรมการส องสว างใหทันสมัย และมีประสิทธิภาพ 3. เพื่อใหเกิดแรงจูงใจตอการใชโปรแกรมคอมพิวเตอรใหเกิดประโยชนมากขึ้น 4. เพื่อใหผูสนใจมีโอกาสพัฒนาทักษะการใชโปรแกรมคอมพิวเตอร 2 1.3 ขอบเขตของโครงงาน 1. ใชโปรแกรม DIALux เวอรชั่น 4.4 2. วิ ธี ลง Plug–inขอมู ลโคมไฟฟ า และตัวอย างการนํ า Plug–inมาใชในโปรแกรม DIALux เวอรชั่น4.4 3. คูมือจะมีวิธีการลงโปรแกรม DIALux เวอรชั่น 4.4 4. คู มื อจะมี เนื้อหาในการใชโปรแกรม DIALuxออกแบบระบบไฟฟ าแสงสว างภายในอาคาร เทานั้น 5. คูมือจะมีเนื้อหาเกี่ยวกับอุปกรณตกแตงภายในหองจากโปรแกรม DIALux 6. คู มื อจะมี ตัวอย างการใชโปรแกรมเพื่ อวางดวงโคมไฟฟ าในลักษณะเป น พื้นที่ , เสนตรง, วงกลม และ ดวงโคมเดี่ยวเทานั้น 7. คู มื อจะมี ตัวอย างการใชโปรแกรมคํ านวณและแสดงออกมาเป นไฟลPDFและไฟลวี ดี โอ เทานั้น 1.4 แผนการดําเนินงาน 1. ศึกษาหัวขอโครงงาน 2. ศึกษาการทํ างานของโปรแกรม DIALux 3. กําหนดหัวข อภายในคูมือการใชโดยแบงออกเปน 5 สวนคือ 3.1 Chapter 1 การลงโปรแกรม (Installation) 3.2 Chapter 2 การใช DIALuxWizard 3.3 Chapter 3 เครื่องมือ (Tools) 3.4 Chapter 4 การแสดงผล (Output) 3.5 Chapter 5 ตัวอยางการสรางหอง (Example) 4. เลือกโปรแกรมในการจัดทําคูมือ 5. จัดทําคูมือการใชโดยเรียงลําดับการจัดทําดังนี้ 5.1 Chapter 1 5.2 Chapter 2 5.3 Chapter 4 5.4 Chapter 5 5.5Chapter3 6. ตรวจแกตนฉบับและแกไข 7. ตั้งชื่อหนังสื อและตกแตงความสวยงามภายในคูมือ 8. ศึกษาการจัดทําคูมือ 3 9. ทําการประเมินคูมือ ตารางที่ 1.1 แผนการดําเนินงาน 1.5 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1. สามารถออกแบบคูมือการออกแบบละคํานวณระบบไฟฟาแสงสวางดวยคอมพิวเตอรได 2. สามารถใชเปนอุปกรณสนับสนุ นการเรี ยนการสอนวิ ชาวิ ศวกรรมการส องสว างใหทันสมัยและ มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 3. สามารถใชโปรแกรมคอมพิวเตอรออกแบบและคํานวณไฟฟาแสงสวางภายในอาคารได 4. สามารถจูงใจใหใชโปรแกรมคอมพิวเตอรใหเกิดประโยชนมากขึ้น 5. สามารถพัฒนาทักษะในการใชโปรแกรมคอมพิวเตอรใหดียิ่งขึ้น 4 บทที่ 2 ทฤษฏี 2.1 ทฤษฎี 2.1.1ความหมายของการเขียน การเขี ยนคื อการแสดงความรูความคิ ด ความรู สึ กและความตองการของผู เขี ยน หรื อที่ เรี ยกเปน ภาษาวิ ชาการวาผู สงสารออกไปเปนลายลักษณอักษรเพื่ อใหผู อานหรื อผู รับสารสามารถอานเขาใจ รับทราบความรู ความคิด ความรูสึก และความตองการเหลานั้น 2.1.2จุดมุงหมายของการเขียน 1.การเขี ยนเพื่ ออธิ บายความไดแกการเขี ยนที่ ผู เขี ยนมุ งอธิ บายหรื อชี้แจงใหผู อานไดมี ความ เขาใจเรื่ องที่ ตองการจะสื่ อไดงายขึ้นดวยการอธิ บายขยายความในเรื่ องตางๆเชนหลักการหรื อความรู ทั้งหลายตัวอยางของการเขี ยนที่ มี จุ ดมุ งหมายเพื่ อการอธิ บายความไดแกการอธิ บายความหมายของ คํ าศัพทที่ มี ใชในหนังสื อหรื อบทความซึ่ งเปนคํ าศัพทเฉพาะที่ มี ใชในหนังสื อเศรษฐศาสตรวิ ศวกรรมเชน การอธิ บายคํ าว าเศรษฐศาสตรวิ ศวกรรมประสิ ทธิ ภาพเชิ งฟสิ กสวามี ความหมายอยางไรกอนที่ จะกลาว รายละเอียดตอไป 2. การเขี ยนเพื่ อจู งใจหมายถึ งการเขี ยนที่ ผู เขี ยนตองการใหขอเขี ยนนั้นโนมนํ าชักจู งใหผูอาน เกิ ดความเชื่ อถื อเห็ นดวยและปฏิ บัติ ตามซึ่ งอาจจะเปนสิ่ งที่ ถู กตองดี งามเชนการชักจู งที่ เกี่ ยวกับการ ปฏิ บัติ ตนใหสอดคลอง กับวัฒนธรรมองคกรหรื อ ขอเขี ยนโฆษณาจู งใจ เชนโฆษณาของบรรดาพรรค การเมืองทั้งหลาย ที่เขียนขึ้นเพื่อตองการการสนับสนุนจากผูอาน 2.1.3ประเภทของงานเขียน งานเขียนทางวิชาการ เปนงานเขียนที่มีแบบแผนมี ลักษณะเฉพาะของการเขี ยน ใชภาษาตรงไป ตรงมา เรี ยบง าย ไม เนนการใชสํ านวนโวหาร มี การใชคํ าศัพทเฉพาะงานเขี ยนทางวิ ชาการ เช น ตํ ารา, รายงานการศึ กษาคนควา, รายงานการวิ จัย, งานแปล, บทความทางวิ ชาการ, เอกสารประกอบ การสอน เปนตน 5 2.1.4บทความทางวิ ชาการ (Technicalpapers) 1. ความหมายของบทความทางวิชาการ ไดแก รายงานผลการวิ จัยขอเสนอโครงการผลการ ศึ กษาคนควาในการที่ จะเขี ยนบทความทางวิ ชาการนั้น ผูรูไดใหคํ าแนะนํ าไวว าในเบื้องตนผูเขี ยนควร จะตองวางแผนก อนที่ จะลงมื อเขี ยนขอบเขตหรื อประเด็ นที่ ตองใหความสํ าคัญ ก็ คื อการกํ าหนดหัวขอ เรื่ องใหชัดเจนพรอมกํ าหนดวัตถุ ประสงคของการเขี ยนว าตองการนํ าเสนออะไรใครคื อกลุ มเป าหมาย หรือผูอานพรอมทั้งรางโครงรางของการนําเสนอ (Outline) 2. รู ปแบบของการเขี ยนงานทางวิ ชาการโดยวัตถุ ประสงคพื้นฐานของงานเขี ยนบทความทาง วิ ชาการนั้น เพื่ อเนนรายละเอี ยดทางวิ ชาการนั้นเพื่ อเนนรายละเอี ยดทางวิ ชาการและการนํ าความรูไปใช ประโยชนการเขี ยนจึ งมี ความจํ าเป นตองถู กตองตามหลักการตองมี การอางอิ งถึ งแหล งที่ มาของขอมู ล ในสวนของรูปแบบการเขียนก็มีมาตรฐานคือพิมพดวยกระดาษขนาด A4 และประกอบไปดวย -หนาปก (Cover) -หนาชื่อเรื่อง (TitlePage) -สารบัญ (TableofContents) -รายการตาราง (Tables) -ภาพประกอบ (Illustration) -ภาคผนวก(Appendix) 3.ส วนประกอบของบทความทางวิ ชาการการเขี ยนบทความทางวิ ชาการนั้นโดยทั่ วไปจะประ กอบดวยหัวขอตางๆคือ -ชื่อบทความ -ชื่อผูแตงและสถานที่ปฏิบัติงาน -ปที่เผยแพร บทความ -บทนํา ถือเปนสวนที่มีความสําคัญมากเพราะบทนําที่ดีจะมี ผลต อการจู งใจใหผูอ าน มี ความสนใจที่ จะอ านบทความโดยละเอี ยดต อไปการเขี ยนบทนํ าควรเขี ยนเพื่ อ นํ าเสนอใหผูอ านทราบขอบเขตเนื้อหาวิ ชาและวัตถุ ประสงคของบทความ โดยใช ภาษา ที่ ถู กตองตามหลักภาษาและหากมี คํ าศัพทเฉพาะก็ ตรวจสอบใหตรงกับที่ ใชในเนื้อเรื่อง -เนื้อเรื่ อง -ขออภิ ปรายหรื อการอภิ ปรายผลคื อส วนที่ แสดงความคิ ดเชิ งวิ เคราะหของผูเขี ยน อาจมี การอางอิ งขอมู ลจากตารางหรื อแผนภู มิ ที่ ผูเขี ยนไดจากการคนควาผลการ วิจัยมาประกอบในการอภิปราย 6 -บทสรุ ปเป นบทลงทายของบทความที่ ผูเขี ยนจะสรุ ปเนื้อเรื่ องทั้งหมด พรอมทั้งตั้ง ประเด็ นหรื อหัวขอเพื่ อการศึ กษาต อเนื่ อง หรื อเพื่ อเชื้อเชิ ญใหผูอ านวิ จารณ ซึ่ งมี เปาหมายเพื่อการแลกเปลี่ยนและตอยอดองคความรูนั้นๆตอไป -การอางอิงการอางอิงในงานเขียนวิชาการมี 2 ประเภทคือ บรรณานุกรม (Bibiographic)และเชิ งอรรถ (Footnotes)ขอแตกต างที่ สํ าคัญของการอางอิ ง ทั้ง สองแบบนี้คือบรรณานุ กรมเป นรายชื่ อหนังสื อหรื อบทความที่ ผูเขี ยนศึ กษาคนควา เพื่ อใชประกอบในการเขี ยนโดยจะพิ มพไวส วนทายต อจากบทสรุ ปของบทความ ส วนเชิ ง อรรถคื อการอางอิ งที่ คัดลอกหรื อยกขอความบางส วน คํ าพู ดของนัก วิ ชาการ ศัพทบัญญัติ มาประกอบแลวพิ มพที่ มาขอขอมู ลที่ ใชที่ ดานล างของหนา เดียวกัน เชิงอรรถอาจะเปนขอความอธิบายเพิ่มเพื่อใหผูอานเขาใจศัพทที่ผูเขียนเห็ น วาไมจําเปนตอง อธิบายในเนื้อความก็ได 2.1.5ลักษณะของบทความทางวิ ชาการที่ดี 1. ชื่อเรื่องสื่อความหมายถึงขอบเขตเนื้อหาของเรื่องก็คือชื่อเรื่องตองตรงกับเนื้อเรื่อง 2. จุ ดมุ งหมายของบทความมี ความชัดเจนและเนื้อหามี ความสอดคลองมุ งสู วัตถุ ประสงคที่ กําหนดไว 3. การลําดับเรื่องคํานึงถึ งลํ าดับของเนื้อหาความรูจากความรูพื้นฐานไปสู ความรูที่ สู งขึ้น ไม ได เนนที่สํานวนหรือลีลาการเขียน 4. ใชศัพทและสํ านวนที่ เป นที่ ยอมรับของแวดวงวิ ชาการและใชศัพทเดี ยวกันในความหมาย เดียวกันตลอดเรื่อง 5. ระบุ แหล งอางอิ งที่ ใชในการเขี ยนอย างครบถวนและถู กตองตามมาตรฐานของสถานที่ ที่ จะนําเสนอบทความเพื่อประโยชนสําหรับผูอานที่ตองการจะไปศึกษาเพิ่มเติมตอไป 2.1.6ขั้นตอนการทําหนังสือ 1.หลักการเหตุผลและแรงจูงใจในการทํา 2.เดินดูตลาดคือการมองหาหนังสือ สื่อ หรือสิ่งพิมพจากแหลงอื่นๆ และมองหาหนังสือ สื่อ หรือสิ่งพิมพในแนวที่เราจะทําแลวดูวาสิ่งที่เราคิดมีความแตกตางจากที่มีในตลาดหรือไม มีไอเดียที่แตกตางจากหนังสือในตลาดหรือไม 3.วางเคาโครงหนังสือ -ตั้งเปาหมายหรือจุดประสงคของหนังสือสิ่งที่อยูในหนังสือทําขึ้นมาเพื่ออะไรผูอ าน จะไดอะไรจากหนังสือเลมนี้ 7 -กํ าหนดรายการหัวขอเรื่ องที่ จะมี ในหนังสื อและดู ว าหัวขอที่ กํ าหนดนั้น สนับสนุ น จุดประสงคของหนังสือเลมนี้หรือไม -วางลําดับเรื่องที่จะเขียนซึ่งถาเปนหนังสือเกี่ยวกับวิชาการจะมีความสําคัญมาก -แบงเปนบทใสชื่อบท และหัวขอของเนื้อหาที่จะมีในแตละบท -ตรวจสอบหัวขอของเนื้อหาในแตละบทใหถี่ถวนจนพอใจ และเขาใจในสิ่งที่จะเขียน ลงในหนังสืออยางชัดเจน 4.หาขอมูลเพิ่มเติมในสิ่งที่ยังไมรูในสิ่งที่จะตองอธิบายหรือเพื่อเปนหลักฐานสนับสนุน ความคิด 5.ลงมือเขียน -เลือกรูปแบบการเขียนโดยบรรยายไปทีละเรื่องทีละบท -จัดเวลาในการเขียน -ไม จําเปนตองเขียนจากหนาไปหลัง หรือเรียงไปตามลํ าดับ 6.เขียนหนังสือใหเปนเลม 7.ตรวจแกต นฉบับแรก -อานดวยตัวเองและถามตัวเองวาพอใจในสิ่งที่เขียนหรือไม -ขัดเกลาเนื้อหา สวนไหนควรเพิ่ มสวนไหนควรตัด -ตรวจสอบความถูกตองของขอมู ล โดยเฉพาะเรื่ องตัวเลข -ใหคนที่ไวใจชวยอานงานเขียนของเราและพิจารณาคําเสนอแนะของเขาถาคน อานไมมีความรูในหนังสือที่คุณเขียนแลวเขาอานเขาใจแสดงวาเราทําสําเร็จ 8.ตั้งชื่ อหนังสื อการตั้งชื่ อหนังสื อมี ความสํ าคัญถาตั้งชื่ อไม ดี โอกาสที่ คนอ านจะผ านไม สนใจมี มากดังนั้นชื่ อเรื่ องจะตองตั้งใหกระชากใจคนอ านถาเป นพวก HOWTO..ควร ตั้งชื่อเรื่องที่คนอานรูสึกวาอานแลวจะทําไดอยางทันทีแนนอน ในเวลาที่ไมนานดวย 9.การวางรูปแบบหนาหนังสือ -หนาปกการจัดหนาภายใน -รูปภาพประกอบ -สี -ฯลฯ หนาปกไมควรใหฉูดฉาดรกรุงรังควรเอาแบบเรียบงาย เปนระเบียบไวกอน 2.1.7ไมโครซอฟทเวิร ด (MicrosoftWord) ไมโครซอฟทเวิ รดเป นโปรแกรมที่ นิ ยมในการประมวลผลคํ ามี ความสามารถในการ จัดรู ปแบบตัวอักษรย อหนาใส รู ปภาพจดหมายเวี ยนและอื่ นๆอี กมากมายส วนการนํ ามาใชใน 8 โครงงานคื อ การตั้งค าระยะขอบกระดาษ โดยในการจัดทํ าคู มื อนี้จะจัดทํ าหนากระดาษขนาด ½ A4 ในแนวนอนโดยมีการตั้งระยะขอบของกระดาษดังนี้ -เขาสูโปรแกรม Microsoft Word -คลิ๊กซายที่ Fileและคลิ๊กซายที่ PageSetup… ดังรูปที่ 2.1 รูปที่ 2.1 การตั้งคาระยะขอบกระดาษ -ตั้งคาหนากระดาษดังนี้ Top : 1.5 cm Bottom : 1.5 cm Outside :2 cm Inside : 1 cm -ปรั บหนากระดาษใหเปนแนวนอน -ปรั บหนากระดาษใหเปน 2 หนาตอแผน (2 pages per sheet) (รูปที่ 2.2) รูปที่ 2.2 การตั้งหนากระดาษใหเปน 2 หนาตอแผน 2.1.8โฟโตสเคป (PhotoScape) PhotoScapeคื อโปรแกรม Freewareสํ าหรับตกแต งภาพที่ มี การใชงานที่ ง ายและมี เครื่ องมื อ ครบครัน สวนการนํามาใชในโครงงานคือ การใสตัวเลขลงในภาพเพื่อใชประกอบการอธิบาย 9 -คลิ๊กซายที่เพื่ อแกไขรูปที่ทํามีอยู (รูปที่ 2.3) รูปที่ 2.3 หนาตางเริ่มตนโปรแกรม Photoscape รูปที่ 2.4หนาตางโปรแกรม PhotoScape 10 รูปที่ 2.5 เลือกรูปที่ตองการ -เมื่อเลือกที่อยูของรูปไดแล ว ใหคลิ๊กซายที่ภาพในชองแสดงตัวอยางรู ปรูปจะขึ้นที่ หนาจอของโปรแกรม (รูปที่ 2.6) จากนั้นคลิ๊กซายแถบ Object ที่แถบเครื่องมือ (รูปที่ 2.6) รูปที่ 2.6 แถบเครื่องมือของโปรแกรม Photoscape -คลิ๊กซายที่เครื่ องหมายและคลิ๊กซายที่ Number จะขึ้นหนาตางดังรูปที่ 2.7 รูปที่ 2.7 หนาตางรูปของโปรแกรม Photoscape 11 -เลือกหมายเลขที่ตองการ และกดปุม หมายเลขที่เลือกจะถูกแสดง บนภาพ ซึ่งสามารถจัดวางไดอยางอิสระ โดยนําไปวางไวบริเวณภายนอกภาพ (รูปที่ 2.8) รูปที่ 2.8การตกแตงรูปที่ตองการ -ใสลูกศรโดยคลิ๊กซายที่เครื่ องหมาย และตั้งคาสี และลักษณะของลูกศร (รูปที่ 2.9) รูปที่ 2.9 การกําหนดลักษณะของเสน -ทําการคลิ๊กซายคางที่ภาพและลากไปทิศทางที่ลากจะเปนหัวลูกศร (รู ปที่ 2.10) 12 รูปที่ 2.10 แสดงภาพที่วาดเสนแลว -กดปุมเพื่อเซฟภาพที่ตกแตงแลว (รูปที่ 2.11) รูปที่ 2.11 เซฟภาพที่ตกแตงแลว -ซึ่งหลังจากเซฟแลว โปรแกรม Photoscape จะทําการสรางโฟลเดอร ที่ชื่อ Originals เพื่อทําการเก็บภาพตนแบบไวใชในคราวถัดไป (รูปที่ 2.12) รูปที่ 2.12 Folder Originals 13 2.1.9 ดวงโคมไฟฟา (Luminaire) ดวงโคมไฟฟ า คื อ อุ ปกรณควบคุ มการกระจายแสงสว างของหลอดไฟฟ า และป องกันไม ให หลอดไฟฟ าไดรับอันตรายจากภายนอกอาจจะรวมไปถึ งอุ ปกรณประกอบระบบแสงสว างเช น บัลลาสต หลอดไฟฟา เปนตนดวงโคมไฟฟาสามารถแยกประเภทไดตามลักษณะการพิจารณา ดังนี้ 1.พิจารณาตามลักษณะของการติ ดตั้งของดวงโคมไฟฟา -ดวงโคมไฟฟาสําหรับติดตั้งแบบหอย หรื อแขวนจากเพดานลงมา รูปที่ 2.13 ดวงโคมไฟฟาแบบหอย -ดวงโคมไฟฟาสําหรับยึดติดกับเพดาน รูปที่ 2.14 ดวงโคมไฟฟาสําหรับยึดติดเพดาน -ดวงโคมไฟฟาสําหรับยึดติดเขาไปในเพดานหรื อฝา รูปที่ 2.15 ดวงโคมไฟฟาสําหรับยึดติดเขาไปในเพดานหรื อฝา 14 2.พิจารณาตามลักษณะของการนําไปใชงานของดวงโคมไฟฟา การติ ดตั้งดวงโคมไฟฟ าจะตองใชใหถู กตองกับลักษณะของงาน และ บริ เวณที่ ทํ าการ ติ ดตั้ง เช น บริ เวณที่ มี ความเค็ มของบรรยากาศมากๆ บริ เวณที่ มี สารเคมี ไวไฟ หรื อบริ เวณโรงงานผลิ ต น้ํามัน เปนตนดวงโคมไฟฟาที่นํามาติดตั้งจึงตองมีการปองกันเปนพิเศษดวย 3.พิจารณาตามลักษณะของหลอดไฟฟาที่ ใชกับดวงโคมไฟฟา หลอดไฟฟาในปจจุบันมีรูปรางตางกันออกไป ทั้งรูปรางกลม ยาว หรือเป นลวดลายบาง ชนิ ดกํ าลังไฟฟ ามาก จึ งตองมี ขนาดของหลอดไฟที่ ยาวหรื อโตขึ้นเช น หลอดฟลู ออกเรสเซนตหรื อ หลอดใสหรือหลอดไฟฟาปลอยประจุความเขมสูง (HID) ตางๆลักษณะและขนาดของดวงโคมไฟฟ าจึ ง ขึ้นอยู กับชนิ ดของหลอดไฟฟ าที่ นํ าไปใชงานซึ่ งหลอดไฟฟ าต างชนิ ดกัน ก็ จะไม สามารถใชกับดวงโคม ไฟฟาที่ตางชนิดกันได 4.พิจารณาตามลักษณะของการกระจายแสงสวางของดวงโคมไฟฟา มาตรฐานของ CIE และ IES ไดจัดแบงประเภทของดวงโคมไฟฟาออกตามเปอรเซนต ของการกระจายแสงสวางขึ้นดานบนของดวงโคมไฟฟา และการกระจายแสงสวางลงดานลางของดวงโคม ไฟฟา ซึ่งพิจารณาจากกราฟการกระจายกําลังการสองสวางแลว สามารถแบงได 6 ประเภทดังนี้ 15 ตารางที่ 2.1 แสดงกราฟเปรียบเทียบการกระจายกําลังการสองสวางของแสงสวางของดวงโคมไฟฟาแต ละประเภทของ CIE และ IES(ที่มา: Illumination Engineering. 1980 : 129 ) ประเภท (Classification) เปอรเซ็นตการกระจาย แสงสวางขึ้นดานบน ( % Up Light) เปอรเซ็นตการกระจาย แสงสวางลงดานลาง ( % Down Light) ชนิดของกราฟการ กระจายกําลังส องสวาง ของดวงโคม (Typical Candlepower Distribution Curve) กระจายแสงสวางลง ดานลาง (Direct) 0 – 10 % 90 – 100 % กึ่งกระจายแสงสวางลง ดานลาง (Semi – Direct) 10 – 30 % 60 – 90 % กระจายแสงสวาง ขึ้น – ลง (Direct – indirect) 40 – 60 % 60 – 40 % กระจายแสงสวางทุก ทิศทาง (General difuse) 60 – 40 % 40 – 60 % กึ่งกระจายแสงสวางขึ้น ดานบน (Semi – indirect) 60 – 90 % 10 – 30 % กระจายแสงสวางขึ้น ดานบน (Indirect) 90 – 100 % 0 – 10 % 16 2.1.10 ทฤษฎีพื้นฐานของแสง แสงเปนเพียงสวนหนึ่งของคลื่นแมเหล็กไฟฟ าที่ ลอยผ านช องว างอากาศคลื่ นเหล านี้มี ทั้ความถี่ และความยาวคลื่ นซึ่ งเป นค าที่ จะแยกแยะออกจากพลังงานรู ปแบบอื่ นบนแถบคลื่ นแม เหล็ กไฟฟ า แสง จะถูกปลอยออกมาจากแหลงเนื่องจากปรากฏการณตอไปนี้ -การลุกโชติชวง ของแข็งและของเหลวจะปล อยพลังงานรังสี ที่ มองเห็ นได เมื่ อมันถู กทํ าใหรอน จนมีอุณหภูมิประมาณ 1000 Kความเขมของแสงจะเพิ่มขึ้นและแสงจะมีสี ขาวมากขึ้นเมื่ อมี อุณหภูมิเพิ่มขึ้น -การปล อยประจุ ไฟฟ าเมื่ อกระแสไฟฟ าเคลื่ อนที่ ผ านกาซทั้งอะตอมและโมเลกุ ลจะปล อย พลังงานรังสีซึ่งมีคุณลักษณะของแถบคลื่นแมเหล็กไฟฟาตามสภาพที่ปรากฏออกมา -การเรื องแสงไฟฟ าแสงจะถู กสรางขึ้นเมื่ อมี กระแสไฟฟ าไหลผ านของแข็ งบางชนิ ดเช น วัสดุกึ่งตัวนําหรือสารเรืองแสง -การเรืองแสงของวัตถุ เมื่ อถู กแสงหรื อรังสี โดยปกติ แลวการแผ รังสี ที่ มี ความยาวคลื่ นค าหนึ่ ง จะถู กดู ดซับโดยของแข็ งแลวถู กปล อยออกมาโดยมี ความยาวคลื่ นที่ ต างกันเมื่ อการแผ รังสี ซ้ํ านี้สามารถมองเห็ นไดก็ อาจถู กเรี ยกว าการเรื องแสงจากรังสี หรื อการเรื องแสงอย าง ฟอสฟอรัส แสงที่ มองเห็ นไดนี้ อาจเป นแบบแถบแม เหล็ กไฟฟ าดังรู ปที่2.16 ซึ่ งจะแสดงใหเห็ นถึ งแถบ แคบๆ ระหว างแสงแถบสี ม วง(UV)และพลังงานอิ นฟาเรด(ความรอน)คลื่ นแสงเหล านี้สามารถกระตุน เยื่ อเรติ นาของตาไดซึ่ งทํ าใหความรูสึ กที่ เรี ยกว าการมองเห็ นไดเพราะฉะนั้นการมองเห็ นจึ งตองอาศัย การทํางานของตาและแสงที่มองเห็นได รูปที่ 2.16 คลื่ นความยาวแสงที่มองเห็ นได 17 2.1.11 การออกแบบระบบไฟฟาแสงสวางภายในอาคาร จะตองพิ จารณาถึ งปริ มาณของแสงสว างที่ เหมาะสมกับสภาพของสถานที่ นั้นๆโดยที่ ควรมี ปริ มาณแสงสว างไม มากไม นอยเกิ นไปและทํ าใหเกิ ดความรูสึ กสบายตาในการมองวัตถุ โดยที่ ความจา ของแสงสว างกับสิ่ งแวดลอมมี ความกลมกลื นกันไม ทํ าใหเกิ ดการแยงตาจากแสงสว างหรื อจากดวงโคม ไฟฟาโดยตรง ตลอดจนมีความปลอดภัยและเหมาะสม ผลของการติ ดตั้งระบบแสงสว างที่ ดี และเหมาะสม คือ 1. ทําใหผูปฏิบัติงานทํางานไดรวดเร็วขึ้น 2. ทําใหงานที่บกพร องลดนอยลง 3. ทําใหขวัญและกําลังใจของพนักงานดีขึ้น 4. ทําใหระบบการทํางานของกลามเนื้อตาของพนังงานดีขึ้น 5. ทําใหอุบัติเหตุลดนอยลง 6. ประหยัดคาไฟฟาตอเดือน 7. ทําใหความเครียดอันเกิดจากการเพงสายตาเพราะแสงสวางไมเพียงพอลดน อยลง 8. ทําใหเปนที่ประทับใจของผูใชบริ การ ฯลฯ ในการออกแบบระบบแสงสวางนั้น แมวาการออกแบบจะถู กตองตามหลักการหรื อมาตรฐานแลว ก็ ตาม แต ความรูสึ กของคนที่ ทํ างานอาจจะรูสึ กไม สบายตา ซึ่ งอาจเกิ ดจากความจาหรื อการแยงตาของ แสงสว างอันเนื่ องมาจากวัตถุ หรื ออุ ปกรณต างๆในหองที่ ไม เหมาะสมกลมกลื นกัน จึ งตองแกไขป ญหาที่ เกิ ดขึ้นเหล านี้ โดยการควบคุ มระดับความจาของแสงสว างไม ใหแตกต างกันเกิ นไป โดยกํ าหนดชนิ ดและ สีของวัสดุที่ใชทําพื้น เพดาน ผนัง ตลอดจนเฟอรนิ เจอรที่ จะใชติ ดตั้งอยู ในหอง ใหมี ความสามารถในการ สะทอนแสงสวางไดอยางเหมาะสมโดยจะใชคาตามตารางดังนี้ ตารางที่ 2.2 แสดงคาความสามารถในการสะทอนแสงสวางของสวนตางๆในสํานักงานที่เหมาะสม (John E.FrierandMaryE.GazleyFrier.1980 : 182) บริเวณการสะทอนแสงสวาง (%) เพดาน ผนัง พื้น เครื่องใชสํานักงานอื่นๆ 80 – 90 40 – 60 20 – 40 25 - 45 18 2.1.12 กฏของการสองสวาง 1. ปริมาณแหงการสองสวางของแสงสวางจะแปรผันตรงกับความเขมแหงการสองสวาง ถาความเขมแห งการส องสว างมากค ากํ าลั่ งส องสว างจะมากตามไปดวย เขี ยนเป น สมการไดวา E αI เมื่อE=ปริมาณแหงการสองสวาง (กําลังสองสวาง) (ลักซ) I =ความเขมแหงการสองสวาง (ลูเมน) 2. กฏกําลังสองผกผัน (Inverse – SquareLaw) เปนกฏที่ทํ าใหทราบวาคาความเขมแหงการสองสวางของแสงสวางที่ตกกระทบลงบน พื้นที่หรือวัตถุจะแปรผกผันกับกํ าลังสองของระยะทางจากแหล งกํ าเนิ ดแสงสว างถึ งจุ ดที่ รองรับแสงหรื อ จุดที่แสงสวางตกกระทบ รูปที่ 2.17 กําลังสองผกผัน หรือสามารถเขี ยนเปนสมการไดวา 19 I α1 / r 2 เมื่อr=ระยะทางจากแหลงกําเนิดแสงสวางถึงจุดหรือพื้นผิวของวัตถุที่รองรับแสง สวาง(เมตร) ถามี การเปลี่ ยนแปลงระยะทางของวัตถุ หรื อจุ ดรองรับแสงสว างโดยใหห างจากแหล งกํ าเนิ ด แสงสวางเดิมจะสามารถหาคาความเขมแหงการสองสวางใหมไดดังนี้ I 1 / I 2 =r 2 2 / r 1 2 เมื่อI 1 = ความเขมแสงแหงการสองสวางครั้งแรก I 2 = ความเขมแหงการสองสวางครั้งหลัง r 1 =ระยะทางจากแหลงกําเนิ ดแสงสวางถึงจุดรับแสงสวางครั้งแรก r 2 =ระยะทางจากแหลงกําเนิ ดแสงสวางถึงจุดรับแสงสวางครั้งหลั ง 3. กฎโคไซนของแลมเบิรต (Lambert’sCosineLaw) กฏโคไซนของแลมเบิรต กลาวไววา “ปริมาณแหงการสองสวางจะแปรผันไปตามคา Cos ของมุมที่เปลี่ยนจากแนวตั้งฉากหรือมุ มที่เอียงไปจากแนวตั้งฉาก” ดังรูปที่ 2.18 มุม ระยะหางที่เกิดจาก จุดรับแสงทํามุม (D) ระยะหางปกติ(r) จุดรับแสงเริ่มแรกจุดรับแสงใหม รูปที่ 2.18 กฏโคไซนของแลมเบิรต หรือเขียนเปนสมการไดวา E 2 =E 1 COSθ 20 เมื่อE 1 = ปริมาณแหงการสองสวาง ณ จุดเริ่มแรก E 2 = ปริมาณแหงการสองสวางเมื่อฉากเอียงออกไปรับแสงสวาง θ= คาองศาของมุมที่เพิ่มจากแนวตั้งฉากเพื่อไปรับแสง จากE = I / r 2 เพราะฉะนั้นจะไดวาE 2 =I COSθ / D 2 เมื่อE = ปริมาณแหงการสองสวาง (ลักซ) I = ความเขมแหงการสองสวาง (ลูเมน) D = ระยะทางจากแหลงกําเนิดแสงสวางถึงจุดรับแสงที่ทํามุม θ (เมตร) 2.1.13 การจัดวางดวงโคมไฟฟา การจัดวางตํ าแหน งดวงโคมไฟฟ านั้นจะมุ งเนนในเรื่ องการนํ าไปใชงานเป นหลักเพื่ อทํ าใหเกิ ด ความคล องตัวในการทํ างานและเพิ่ มประสิ ทธิ ภาพในการทํ างานซึ่ งสามารถแบ งวิ ธี การติ ดตั้งดวงโคม ไฟฟาได 3 วิธี คือ 1. การติดตั้งดวงโคมไฟฟาแบบทั่วไป การติดตั้งดวงโคมไฟฟาแบบทั่วไปจะพิจารณาถึงความสม่ําเสมอของแสงสวางที่สองไป ที่ พื้นที่ ใชงาน หรื อพื้นหองใหมี ความสว างทั่ วหองอย างสม่ํ าเสมอเป นหลักซึ่ งมักจะติ ดตั้งไวก อนที่ จะรู ตําแหนงที่แนนอนของการวางเครื่องจักร หรืออุปกรณอื่นๆการติดตั้งดวงโคมไฟฟ าแบบทั่ วไปสามารถใช กับหลอดไฟฟ าไดทุ กประเภทแลวแต ความเหมาะสมโดยส วนใหญ จะใชหลอดฟลู ออเรสเซนต อาจจะ ติ ดเป นแถวตามยาวหรื อตามความกวางของหองก็ ได อาจจะมี ผลต อความรูสึ กในการมองเห็ นว า หอง นั้นกวางขึ้นหรื อแคบลงแต ยาวขึ้น เป นตนซึ่ งขึ้นอยู กับลักษณะของดวงโคมไฟฟ าเช นกันโดยมักจะ เกิ ดกับดวงโคมไฟฟ าที่ มี ลักษณะยาวเช นดวงโคมไฟฟ าที่ ใชกับหลอดฟลู ออเรสเซนตการติ ดตั้งดวง โคมไฟฟาแบบทั่วไปแบงออกเปนสองประเภทคือ การติดตั้งดวงโคมไฟฟาแบบตอเนื่อง (รูปที่ 2.19) และ การติดตั้งดวงโคมไฟฟาแบบปกติ(รูปที่ 2.20) 21 L Y/* จํานวน X ความยาวของดวงโคมไฟฟา Y W Y Y/* รูปที่ 2.19 การติดตั้งดวงโคมไฟฟาแบบตอเนื่อง L Y/2 XXXXX/2X/2 Y W Y Y/2 รูปที่ 2.20 การติดตั้งดวงโคมไฟฟาแบบปกติ 22 เมื่อW=ความกวางของพื้นที่ L =ความยาวของพื้นที่ X =ระยะหางระหวางดวงโคมในแนวระดับ Y =ระยะหางระหวางดวงโคมในแนวตั้ง * =คานี้เปลี่ยนแปลงไดตั้งแต 1 – 3 จะเห็นวาการติดตั้งดวงโคมไฟฟาแบบตอเนื่อง(รูปที่ 2.19)ดวงโคมไฟฟาจะวางตอกัน โดยไม เวนช องว างระหว างดวงโคมไฟฟ าในแนวระดับ แต จะเวนช องว างก อนถึ งกํ าแพงทั้งจุ ดเริ่ มตนและ จุ ดสุ ดทายของแถว ส วนในแนวตั้งจะเวนเป นระยะ Yและก อนถึ งกํ าแพงจะเวนระยะไว ประมาณหนึ่ ง ส วนสามของระยะ Yจนถึ งระยะเท ากับ Yตามความเหมาะสมส วนการติ ดตั้งดวงโคมไฟฟ าแบบทั่ วไป (รูปที่ 2.20)จะเวนระยะระหวางดวงโคมไฟฟาโดยพิจารณาจากจุดกึ่งกลางของดวงโคมไฟฟ าอันหนึ่ งไป ยังดวงโคมไฟฟาอันถัดไปเป นระยะ X และจะเวนช องว างก อนถึ งกํ าแพง ทั้งจุ ดเริ่ มตนและจุ ดสุ ดทายของ แถว เปนระยะครึ่งนึงของระยะ X ส วนในแนวตั้งจะเวนเป นระยะ Yและก อนถึ งกํ าแพงจะเวนระยะไว ครึ่งนึงของระยะ Y การติดตั้งในลักษณะดังกลาวจะทําใหไดแสงสวางที่สม่ําเสมอซึ่งเปนไปตามขอกําหนด ที่นิยมใชกันอยูทั่วๆไป 2. การติดตั้งดวงโคมไฟฟาแบบเฉพาะบริเวณ จะเกิ ดขึ้นในหน วยงานที่ มี การทํ างานหลายๆอย างในบริ เวณเดี ยวกันโดยจะตองมี บริ เวณที่ กวางพอสมควรถาติ ดตั้งดวงโคมไม เหมาะสมอาจจะทํ าใหเกิ ดแสงสว างแยงตาหรื อรบกวน ผูปฏิ บัติ งานที่ อยู ใกลเคี ยงไดการออกแบบลักษณะนี้จึ งตองระมัดระวังเป นพิ เศษและเลื อกใชดวงโคม ไฟฟาใหเหมาะสม 3. การติดตั้งดวงโคมไฟฟาแบบเฉพาะจุด จะติ ดตั้งหลังจากการติ ดตั้งดวงโคมไฟฟ าแบบทั่ วไปเรี ยบรอยแลว และรูตํ าแหน งที่ แน นอนของโตะทํ างานหรื ออุ ปกรณอื่ นๆซึ่ งมักจะติ ดตั้งเพื่ อเสริ มความสว างเฉพาะจุ ดใดจุ ดหนึ่ ง เช นบน โตะเขี ยนแบบป ายโฆษณาสิ นคา หรื อชิ้นงานแสดง เป นตนซึ่ งจะตองระมัดระวังในเรื่ องของแสงสว าง ที่จะไปแยงตาบุคคลที่อยูบริเวณใกลเคียงและตองสัมพันธกับการติดตั้งระบบอื่นๆดวย 2.1.14 องคประกอบที่ ทํ าใหความสวางภายในหองลดลง 1. คาความเสื่อมสภาพของหลอดไฟฟา (LLD) การหาค าความเสื่ อมสภาพของหลอดไฟฟ า สามารถหาไดจากคู มื อของหลอดไฟฟ าที่ โรงงานผูผลิตกําหนดไวโดยพิจารณาจากค าปริ มาณจํ านวนเสนแรงของแสงสว างเฉลี่ ย (MeanLumen Output) หารดวยคาปริมาณจํานวนเสนแรงของแสงสวางเริ่มแรก (InitialLumenOutput) 23 เขียนเปนสมการคือ LLD=MeanLumenOutput /InitialLumenOutput 2. คาความเสื่อมสภาพจากความสกปรกของดวงโคมไฟฟา (LDD) การหาค าความเสื่ อมสภาพจากความสกปรกของดวงโคมไฟฟ านั้นสามารถจํ าแนก ดวงโคมไฟฟ าออกเป นชนิ ดต างๆได 6 ประเภทใหญ ๆซึ่ งขึ้นอยู กับความยากง าย ชาหรื อเร็ วในการ สะสมฝุ นละออกของดวงโคมไฟฟ า และ ระยะเวลาในการทํ าความสะอาดดังตารางที่ กํ าหนดใหทั้ง 6 ประเภท ของกราฟแสดงค าความเสื่ อมสภาพของดวงโคมไฟฟ าประเภทต างๆ (JohnE.Kaufman. 1981 : 9-5) 3. คาความเสื่อมสภาพของแสงสวางจากพื้นผิวหองสกปรก (RSDD) การหาคาความเสื่อมสภาพของแสงสวางจากพื้นผิวหองสกปรก จะพิจารณาจากขนาด ส วนต างๆของหองเช นความกวางความยาวและความสู งของหองซึ่ งจะไดค าอัตราส วนโพรงหอง (RCR)และพิ จารณาถึ งสถานที่ ที่ ตองการออกแบบดวยว ามี บรรยากาศอย างไรจะตองทํ าความสะอาด บ อยแค ไหนซึ่ งเป นความสกปรกจากฝุ นละอองตลอดจนประเภทของดวงโคมไฟฟ าที่ จะใชจัดอยู ใน ประเภทใดเมื่ อรูค าต างๆที่ กล าวมาก็ จะนํ าไปหาค าที่ ตองการไดจากกราฟแสดงตารางการหาค า เปอรเซ็ นตความสกปรกตามคาดหวังของความสกปรกของพื้นผิ วหอง(PercentExpectedDirt)ใน กราฟแสดงเปอรเซนตความสกปรกตามคาดหวังของพื้นผิ วสกปรก (JohnE.Kaufman.1981:9-46) และ ตารางแสดงค าประกอบความเสื่ อมสภาพของแสงสว างจากพื้นผิ วหองสกปรก (JohnE.Kaufman. 1981 : 9-6) 4. คาตัวประกอบหลอดไฟฟาเสีย (Lamp Burn Out : LBO) การหาค าตัวประกอบหลอดไฟฟ าเสี ยพิ จาณาไดจากอัตราส วนของหลอดไฟฟ าที่ ยังคง ทํางานอยูกับหลอดไฟฟาทั้งหมดที่ติดตั้ง เขียนเปนสูตรไดดังนี้ LBO=จํานวนหลอดไฟฟาที่ยังคงทํางาน / จํานวนหลอดไฟฟาทั้งหมดที่ติดตั้ง 5. ตัวประกอบการบํารุงรักษา (Maintenant factor : MF) ตัวประกอบการบํารุงรักษา คือคาความเสื่อมของการกระจายแสงของดวงโคมไฟฟา ซึ่ ง เกิ ดจากความเสื่ อมของหลอดไฟตามอายุ การใชงานความสกปรกของหลอดไฟ และโคมไฟเนื่ องจากฝุ น ละออง ซึ่งขึ้นอยูกับความสะอาดของบรรยาศในแต ละสถานที่ และความถี่ ในการทํ าความสะอาด โดยปกติ บริ ษัทผูผลิ ตโคมไฟจะระบุ ค า MFของโคมไฟแต ละชนิ ด โดยกํ าหนดค า MFเป น 3 ค าตามลักษณะการ บํ ารุ งรักษา ไดแกการบํ ารุ งรักษาดีปานกลาง และต่ํ า ในกรณี ที่ ไม ทราบค าตัวประกอบการบํ ารุ งรักษา สามารถพิจารณาไดจากผลคูณของ LDD กับ LLD เขียนเปนสูตรไดดังนี้ 24 MF=LDD x LLD 2.1.15 การแบงสวนโพรงหอง (Zonal Cavity Method) เปนการคํานวณโดยการแบงสัดสวนของพื้นที่หองออกเป นสวนทั้งหมด 3 สวนดังรูป ดวงโคมไฟฟา ระดับดวงโคม h cc โพรงเพดาน ความสูงดวงโคม เหนือพื้ นงาน ความสูง เพดาน โพรงหองh rc พื้นที่ทํางาน h fc โพรงพื้น พื้น รูปที่ 2.21 การแบงสัดสวนของโพรงหอง จากรู ป ส วนแรกเรี ยกว า โพรงเพดาน (CeilingCavity)ซึ่ งหมายถึ งบริ เวณนับตั้งแต เพดาน ลงมาถึ งระดับของดวงโคมไฟฟ าความสู งระยะนี้เรี ยกว าความสู งของโพรงเพดาน (CeilingCavity Height : h cc ) ส วนที่ สองเรี ยกว า โพรงหอง (RoomCavity)ซึ่ งหมายถึ งบริ เวณจากระดับของดวงโคมไฟฟ า ลงไปถึงระดับพื้นงานเรียกความสูงของระยะนี้วา ความสูงของโพรงหอง (RoomCavityHeight : h rc ) ส วนที่ สามเรี ยกว าโพรงพื้น (FloorCavity)ซึ่ งหมายถึ งบริ เวณจากระดับพื้นงานลงมาถึ งระดับ พื้นหองเรียกความสูงของระยะนี้วาความสูงของโพรงพื้น (FloorCavityHeight : h fc ) 2.1.16 อั ตราสวนโพรง (CavityRatio) อัตราสวนโพรงคือการพิจารณาเปนอัตราส วนระหวางพื้นที่ที่อยูในแนวดิ่ งของห องซึ่งหมายถึง ผนังห องทั้งสี่ด านตอพื้นที่ในแนวระดับ, เพดานและพื้นรวมกันคาอัตราสวนโพรงมี อยูสามคาคือ 25 1. คาอัตราสวนโพรงเพดาน (CeilingCavityRatio : CCR) 2. อัตราสวนโพรงห อง (RoomCavityRatio : RCR) 3. อัตราสวนโพรงพื้ น (FloorCavityRatio : FCR) เมื่อกําหนดให W = ความกวางของพื้นที่ที่ตองการหาปริมาณแหงการสองสวาง(m) L= ความยาวของพื้นที่ที่ตองการหาปริมาณแหงการสองสวาง(m) ค าอัตราส วนโพรงแต ละค าจะคํ านวณจากความสู งของโพรง (CavityHeight)แต ละค าที่ ความสัมพันธกันดังสูตรตอไปนี้ อัตราสวนโพรงเพดาน (CCR) = 5 h cc [ (W+L) / (W× L) ] อัตราสวนโพรงหอง (RCR)=5 h rc [ (W+L) / (W× L) ] อัตราสวนโพรงพื้น (FCR)=5 h fc [ (W+L) / (W× L) ] จะเห็นวาทุกสมการมีคาที่เทากันคือ5 [ (W+L) / (W× L) ] ถาใหคา K=5 [ (W+L) / (W× L) ] จะไดวาRCR = K × h rc หรือK=RCR / h rc CCR = K × h cc หรือ K=CCR / h cc FCR = K × h fc หรือK=FCR / h fc เพราะฉะนั้นจะไดRCR / h rc =CCR / h cc = FCR / h fc =K 2.1.17 สัมประสิทธิ์การใชประโยชน (Coefficient of Utilization : CU) การหาค าสัมประสิ ทธิ์การใชประโยชสามารถหาค าไดจากตารางที่ กํ าหนดใหของโรงงานผูผลิ ต ดวงโคมไฟฟานั้นๆขั้นตอนในการหาค า CU นี้จะไดมาจากการหาค า CCR, RCR, FCR, , , และ ชนิ ดของดวงโคมไฟฟ าก อน จึ งจะนํ าไปประกอบการเป ดตารางหาค า CUของดวงโคมไฟฟ าชนิ ดต างๆ ที่บริษัทผูผลิตไดจัดทําขึ้นซึ่งมีลักษณะแตกตางกันตามลักษณะดวงโคมไฟฟ าและตามลักษณะการใชงาน ดังตารางสัมประสิทธิ์การใชประโยชนของดวงโคมชนิดตางๆ (John E. Kaufman. 1981 : 9-31) 26 2.1.18 วิธี การของหลักการสอดแทรก (Principle of Interpolation) วิ ธี การของหลักการสอดแทรก หมายถึ งการหาค าต างๆที่ อยู ระหว างค าหนึ่ งกับอี กค าหนึ่ ง หรื อ คาที่อยูระหวางคาตารางหนึ่งกับคาอีกตารางหนึ่ง เพื่อใหไดคาที่ถูกตอง 2.1.19 วิ ธี คํานวณหาปริมาณแหงการสองสวางโดยวิธีการหาปริ มาณจํานวนเสนแรงของแสง สวาง (Lumen Method) วิ ธี คํ านวณหาปริ มาณแห งการส องสว างโดยวิ ธี การหาค าปริ มาณจํ านวนเสนแรงของแสงสว าง คื อการพิ จารณาปริ มาณแสงสว างที่ ออกจากดวงโคมไฟฟ าที่ จะกระจัดกระจายลงไปทั่ วพื้นที่ งาน และค า ระดับความสวางที่คํานวณออกมาไดจะเปนคาเฉลี่ยตอพื้นที่ การคํานวณโดยพิจารณาจากนิยามไดวา E=l / A เมื่อE=ปริมาณแหงการสองสวาง (ลักซ) l=ปริมาณจํานวนเสนแรงของแสงสวางที่ออกจากดวงโคมไฟฟาหรือ หลอดไฟฟา (ลูเมน) A=พื้นที่ที่ตองการปริมาณแสงสว าง (W x L : ตารางเมตร) ในทางปฏิ บัติแสงสว างจะกระจัดกระจายทั่ วทั้งหอง และมี บางส วนสะทอนแสงสว างกลับคื น ออกมาและบางส วนก็ จะถู กกลื นหายไปในพื้นผิ วการที่ แสงสว างจะสะทอนแสงสว างออกมามากหรื อ นอยขึ้นอยู กับ ความกวาง ความยาว ความสู งของหอง ตลอดจนความสามารถในการสะทอนแสงสว าง ของพื้นหอง เพดาน และผนังหองดวยดังนั้น ค าปริ มาณแห งการส องสว าง จึ งจะตองคู ณดวยค าที่ เรี ยกว าค าสัมประสิ ทธิ์การใชประโยชน (CU) ซึ่ งเป นค าที่ บอกใหรูว า แสงสว างที่ ออกมาจากดวงโคม ไฟฟาจะไปตกลงบนพื้นงานจริงๆเทาใดเขียนสูตรใหมไดดังนี้ E=(l x CU) / A เมื่อCU=สัมประสิทธิ์การใชประโยชน เมื่ อมี การใชหลอดไฟฟ าไปเรื่ อยๆเป นเวลานานๆ แสงสว างที่ เปล งออกมาจากหลอดไฟฟ าก็ จะ คอยๆลดลงเรื่ อยๆ ค านี้เรี ยกว าค าความเสื่ อมสภาพของหลอดไฟฟ า (LLD) อี กทั้งดวงโคมไฟฟ าจะเริ่ มมี การสะสมฝุ นละอองมากขึ้นเรื่ อยๆในดวงโคมไฟฟ าจะทํ าใหความสามารถในการสะทอนแสงสว างนอย ลงเรื่ อยๆ ซึ่ งดวงโคมไฟฟ าแต ละชนิ ดจะมี อัตราการสะสมฝุ นละอองแตกต างกัน ค านี้เรี ยกว า ค าความ 27 เสื่ อมสภาพจากความสกปรกของดวงโคมไฟฟ า (LDD)ดังนั้นถาเราตองใหแสงสว างเวลาใชงานคงที่ ไว ในระดับที่ตองการตลอดไป จะตองเผื่อคาของทั้งสองอยางนี้เขาไปดวย ซึ่งจะเขียนสมการใหมไดดังนี้ E=(l x CU x LLD x LDD) / A หรือE = (l x CU x MF) / A เมื่อLLD=คาความเสื่อมสภาพของหลอดไฟฟา LDD=คาความเสื่อมสภาพจากความสกปรกของดวงโคมไฟฟา MF=ตัวประกอบการบํารุงรักษา (LLD x LDD) ไม ว าหองนั้นจะมี การใชงานหรื อไม มี การใชงานก็ ตาม ก็ จะมี การสะสมฝุ นละอองเกาะตามพื้น หอง ผนังหอง เพดานหอง และส วนอื่ นๆที่ อยู ภายในหอง ซึ่ งทํ าใหความสามารถในการสะทอนแสงสว าง ของส วนต างๆของหองลดนอยลงไปจะมากหรื อนอย ชาหรื อเร็ วขึ้นอยู กับขนาดของส วนต างๆของหอง เช นความกวาง ความยาว ความสู งของหอง บรรยากาศของสถานที่ ที่ ติ ดตั้ง ตลอดจนระยะเวลาที่ ทํ า ความสะอาดและประเภทของดวงโคมไฟฟ าที่ ใชติ ดตั้งความสกปรกอันเนื่ องจากฝุ นละอองในหองนี้ เรี ยกว า ค าความเสื่ อมสภาพจากพื้นผิ วหองสกปรก (Room Surface Dirt Depreciation : RSDD) ดังนั้น ถาตองการใหแสงสวางที่ใชงานคงระดับที่ตองการตลอดไปจะตองเผื่ อค าความเสื่ อมนี้เขาไปดวย จึ งเขี ยน เปนสูตรใหมไดดังนี้ E=(l x CU x MF x RSDD) / A เมื่อRSDD=คาความเสื่อมสภาพจากพื้นผิวหองสกปรก เมื่ อใชหลอดไฟฟ าถู กใชไปเรื่ อยๆ จะมี หลอดไฟฟ าจํ านวนหนึ่ งดับก อนซึ่ งอาจจะเป นจํ านวน นอยหรื ออาจจะตองรอการเปลี่ ยนหลอดไฟฟ าใหม มาใส เขาไปแทนที่ ในช วงเวลาดังกล าวจะทํ าให ปริ มาณแสงสว างภายในหองลดลงค าการดับของหลอดไฟฟ าจํ านวนหนึ่ งนี้หลังจากการใชงานไปแลว เรี ยกว าค าตัวประกอบหลอดเสี ย (Lamp Burn Out : LBO) ดังนั้น ถาตองการใหแสงสว างที่ ใชงานอยู ใน ระดับที่ ตองการตลอดไป จะตองเผื่ อค าตัวประกอบหลอดไฟฟ าเสี ยเขาไปดวย จึ งเขี ยนเป นสู ตรใหม ได ดังนี้ E=(l x CU x MF x RSDD x LBO) / A เมื่อLBO=คาตัวประกอบหลอดเสีย ถาจัดรูปสมการใหมเพื่อหาปริมาณจํานวนเสนแรงของแสงสวางทั้งหมดไดดังนี้ 28 L total =(E x A) / (CU x LLD x LDD x RSDD x LBO) เมื่อ L total =คาปริมาณจํานวนเสนแรงของแสงสวางทั้งหมดที่ตองการ เมื่ อพิ จารณาเพื่ อหาจํ านวนดวงโคมไฟฟ าที่ จํ าเป นตองใชงานทั้งหมดเพื่ อใหมี ค าความส องสว าง ภายในหองเปนไปตามคาที่ตองการ สามารถคํานวณไดจากสูตรตอไปนี้ N=L total / l เมื่อN=จํานวนดวงโคมไฟฟา l=ปริมาณจํานวนเสนแรงของแสงสวางตอหนึ่งดวงโคมไฟฟ า 29 บทที่ 3 หลักการ แนวคิด และการออกแบบโครงงาน 3.1หลักการและแนวคิด แนวคิ ดสํ าคัญที่ จัดทํ าคู มื อการใชโปรแกรมออกแบบและคํ านวณระบบไฟฟ าแสงสว าง DIALUX คือ ในปจจุบันนี้การเรี ยนการสอนรายวิ ชา IlluminationEngineeringซึ่ งว าดวยแหล งกํ าเนิ ดแสง แสง และสีดวงโคมไฟฟ า การส องสว างมู ลฐาน การคํ านวณวิ ธี ลู เมนรวมไปถึ งการออกแบบระบบไฟฟ าแสง สว างภายในอาคาร โดยในการเรี ยนการสอนแต เดิ มนั้นไม สามารถใหผูเรี ยนไดนํ าความรูที่ ไดจาก การศึ กษาทฤษฎีมาทํ าการปฏิ บัติ การเพื่ อออกแบบระบบไฟฟ าแสงสว างภายในอาคารไดจริ งทํ าใหไม สามารถมองเห็นภาพของการออกแบบระบบไฟฟาแสงสวางได โปรแกรม DIALUX เป นโปรแกรมออกแบบและคํ านวณระบบไฟฟ าแสงสว าง ซึ่ งสามารถจํ าลอง ลักษณะหองการวางดวงโคมการวางเฟอรนิ เจอรรวมไปถึ งการกํ าหนดวัสดุ ภายในหองที่ ทํ าการ จํ าลองในรู ปแบบสามมิ ติ ซึ่ งโปรแกรมจะทํ าการคํ านวณค าความส องสว างจากค าต างๆที่ ผูใชโปรแกรม กํ าหนดไวและแสดงผลการคํ านวณจากการกํ าหนดค าต างๆภายในหองใหผูใชโปรแกรมไดเห็ น ลักษณะของหองที่ ตนเองไดออกแบบไดอย างชัดเจน ซึ่ งจะทํ าใหการศึ กษาวิ ชาIllumination Engineering มี ประสิ ทธิ ภาพและทํ าใหเกิ ดแรงจู งใจที่ จะเรี ยนรูรวมทั้งพัฒนาทักษะดานการออกแบบระบบไฟฟ า แสงสวางใหสูงยิ่งขึ้น อี กทั้งในป จจุ บันนี้ คู มื อการใชโปรแกรม DIALUXนั้นมี แต ในรู ปแบบภาษาอังกฤษเท านั้นทํ า ใหผูที่ ตองการศึ กษา แต ความสามารถทางภาษาอังกฤษไม ดี พอ ไม มี ความสนใจที่ จะเรี ยนรูการใช โปรแกรม DIALUX โครงงานนี้จึงไดจัดทําคูมือการใชโปรแกรม DIALUX ในรูปแบบภาษาไทย เพื่ อใหผู ที่ ตองการศึ กษาเกิ ดความสนใจที่ จะเรี ยนรูการใชโปรแกรม DIALUXและสามารถใชโปรแกรม DIALUX เพื่อพัฒนาทักษะการออกแบบระบบไฟฟาแสงสวางใหสูงยิ่งขึ้น ในการจัดทํ าคู มื อการใชโปรแกรม DIALUXผูจัดทํ าเลื อกที่ จะจัดทํ าคู มื อในขนาด ½ A4 เนื่ องจากในป จจุ บันนี้หนังสื อคู มื อต างๆจะจัดทํ าหนังสื อในขนาด ½A4เป นส วนใหญ เพราะขนาดที่ สะดวกตอการพกพา และใชอานทําใหสามารถถืออานและปฏิบัติตามคูมือไดสะดวกยิ่งขึ้น 3.2ขั้นตอนในการออกแบบโครงงาน จะตองมีการลําดับขั้นตอนการเตรียมการเพื่อนํามาจัดทําเป นคูมือดังนี้ 30 เริ่มตน ศึกษาการทํางานของโปรแกรม DIALux กําหนดหัวขอของเนื้อหาที่จัดทําคูมือ เลือกโปรแกรมที่ตองนํามาใชในการทําคูมือ จัดทําเนื้อหาคูมือ ตามหัวขอที่กําหนด YES NOตรวจแก ตนฉบับแรก ทําการ แกไข ตั้งชื่อหนังสื อและ ตกแตงความสวยงาม จัดทําคูมือ ประเมินคูมือ จบการทําโครงงาน รูปที่ 3.1 Flow chartขั้นตอนดําเนินงานการจัดทําหนังสือคูมือการใชโปรแกรม DIALux 31 3.3ศึกษาการทํางานของโปรแกรม DIALux DIALuxคื อโปรแกรมออกแบบและคํ านวณระบบไฟฟ าแสงสว างซึ่ งสามารถจํ าลองหอง ลักษณะต างๆการจัดวางเฟอรนิ เจอรภายในหองกํ าหนดวัสดุ ของพื้นผิ วต างๆภายในหองรวมไปถึ ง การวางของดวงโคมไฟฟ าโดยโปรแกรม DIALUXสามารถคํ านวณระบบไฟฟ าแสงสว างของหองที่ ทํ า การจํ าลองและแสดงผลลักษณะหองในรู ปแบบของสามมิ ติ ในรู ปแบบไฟล PDFและรู ปแบบไฟล Video จะได Flow chart ขั้นตอนการใชโปรแกรม DIALux เริ่มตน ลงโปรแกรม DIALux Version 4.4 ลง Plug – In เปดโปรแกรม DIALux กําหนดรายละเอียด ของโครงงาน สรางหอง เลือกดวงโคมไฟฟา จัดวางดวงโคมไฟฟา 32 กําหนดพื้นผิวภายในหอง วางตําแหนง หนาตางและประตู กําหนดพื้นผิว หนาตางและประตู จัดวางเฟอรนิเจอร กําหนดพื้นผิว เฟอรนิเจอร แสดงผล ภาพสามมิ ติ กําหนดคาการ แสดงผลเอกสาร PDF กําหนดเสนทางการ บันทึกภาพ สรางเอกสาร PDFสรางไฟล Video จบการทํางาน คํานวณโดยโปรแกรม รูปที่ 3.2 Flowchart ขั้นตอนการใชโปรแกรม DIALux 33 แบงไดเปน5ขั้นตอนหลัก คือ -สรางหอง -ดวงโคมไฟฟา -ประตูหนาตาง -เฟอรนิเจอร -คํานวณและแสดงผล จึงนําการแบงกลุมนี้ มาจัดเปนหัวขอของเนื้อหาในการจั ดทําคูมือตอไป 3.4กําหนดหัวขอของเนื้อหาที่จัดทําเป นคูมือ หัวขอที่ จะจัดทํ าจะครอบคลุ มการอธิ บายการใชโปรแกรม DIALUXเพื่ อใหผูใชสามารถเรี ยนรู ฝกหัด พัฒนาทักษะในการใชโปรแกรม DIALUX เพื่อออกแบบหองลักษณะตางๆจนกระทั่งใชโปรแกรม ใหสามารถคํานวณคาความสองสวางออกมาไดซึ่งหัวขอที่จัดทํามีดังตอไปนี้ บทที่ 1 การลงโปรแกรม (Installation) -การลง โปรแกรม DIALUX เวอรชั่น 4.4 -การลง Plug – in ของโปรแกรม DIALUX บทที่ 2 การออกแบบภายในอาคารดวย DIALuxWizard -การใช DIALux Light Wizardในการคํานวณอยางงาย -การสรางหองโดย ArchedRoomWizard -การสรางหองโดย L - ShapedRoomWizard -การสรางหองโดย PolygonalRoomWizard -การสรางหองโดยRectangularRoomWizard บทที่ 3 แถบเครื่องมือ (Toolbars) -File -Edit -CAD -Pick -Paste -LuminaireSelection -Output -Window -Online -? (etc) 34 บทที่ 4 การแสดงผล (Output) -การใชโปรแกรม DIALUX เพื่อคํานวณคาความสองสวางภายในหอง -การแสดงผลการคํานวณในรูปแบบเอกสาร -การสรางไฟลวีดีโอ บทที่ 5 ตัวอย างการสรางหอง (Example) 3.5เลือกโปรแกรมที่นํามาใชในการจัดทําคูมือ 1.MicrosoftWordเปนโปรแกรมที่นิยมในการประมวลผลคํา มีความสามารถจัดรูปแบบตัวอักษร ยอหนา ใสรูปภาพ จดหมายเวียน รวมไปถึงการพิมพเอกสาร สื่อสิ่งพิมพตางๆได ซึ่งทําใหสะดวกต อการ จัดทําโครงงาน 2.PhotoScapeเป นโปรแกรม Freewareสํ าหรับแต งภาพที่ มี การใชงานที่ ง ายและมี เครื่ องมื อใน การตกแต งครบครันซึ่ งจะใชในการตกแต งภาพที่ ใชประกอบการอธิ บายการใชงานโปรแกรม DIALux ภายในคูมือที่จัดทํา 3.AdobePhotoshop 7.0เปนโปรแกรมสําหรับสรางและแกไขรู ปภาพโดยเฉพาะนักออกแบบใน ทุ กวงการย อมรูจักโปรแกรมนี้ดี เป นโปรแกรมที่ มี เครื่ องมื อเพื่ อสนับสนุ นการสรางงานประเภทสิ่ งพิ มพ งามวิดีทัศน งานนําเสนอ งานมัลติมีเดีย ตลอดจนงานออกแบบและพัฒนาเว็ปไซต 3.6หลักในการเลือกใชโปรแกรมที่นํามาใชในการจัดทําคูมือ จุดประสงคในการทําคูมือการใชโปรแกรม DIALUX นั้น เพื่อตองการใหผูที่ ตองการเริ่ มตนศึ กษา การใชโปรแกรม DIALUX ใชงานไดงายและมีความสนใจที่จะพัฒนาทักษะการใชโปรแกรมของตนใหสู ง ยิ่ งขึ้นซึ่ งคู มื อจะตองมี รู ปแบบการนํ าเสนอที่ น าสนใจและง ายต อการศึ กษาและทดลองปฏิ บัติ ฉะนั้น การเลือกใชโปรแกรมที่นํามาใชในการจัดทําคูมือโปรแกรมนั้นๆจะตองมีคุณสมบัติดังนี้ 1.มีฟงกชั่นการทํางานครอบคลุมลักษณะของโครงงาน MicrosoftWordมี ฟ งกชั่ นในการกํ าหนดลักษณะหนากระดาษขนาดของกระดาษ ตัวอักษร ยอหนาการใสรูปภาพรวมไปถึงการจัดทําสื่อสิ่งพิมพ PhotoScapeมี ฟ งกชั่ นที่ สามารถตกแต งภาพเพื่ อใชในการประกอบ การอธิ บายการใชงาน โปรแกรมภายในคูมือ ไดอยางรวดเร็วและไมยุงยาก 35 Photoshop มี ฟ งกชั่ นการตกแต งภาพที่ มากกว า PhotoScape แต ก็ มี ความยุ งยากในการใชงาน มากกว าเช นกัน ถาหากตองการใชงานในฟ งกชั่ นของ PhotoScapeสิ่ งที่ ตองการจากโปรแกรมนี้จึ งเป น ฟงกชั่นการทํางานที่หลากหลายกวา PhotoScape 2. มีความสะดวกในการใชงาน MicrosoftWordเปนโปรแกรมที่มีความสะดวกในการจัดทําสื่อสิ่งพิมพหรือ เอกสาร PhotoScapeมี ความสะดวกต อการตกแต งภาพที่ ใชประกอบการอธิ บายภายในคู มื ออย างรวด เร็ว อีกทั้งยังเปนโปรแกรม Freeware และมีขนาดโปรแกรมที่เล็กดวย Photoshopฟ งกชั่ นอื่ นๆที่PhotoScapeไม สามารถทํ าได สามารถทดแทนโดยการใช Photoshop ทําใหขีดจํากัดในการตกแตงภาพมีความหลากหลายขึ้น 3. สามารถตกแตงความสวยงามได MicrosoftWordมี ฟ งกชั่ นการใส รู ปภาพประกอบเนื้อหา รวมถึ งการปรับขนาดของภาพใหมี ความเหมาะสมกับหนากระดาษ (½ A4)ทํ าใหสามารถเพิ่ มความสวยงามใหกับหนากระดาษไดโดยนํ า ภาพจากการตกแตงดวยโปรแกรม Photoscape และ Photoshop มาใสในหนากระดาษ 3.7ตรวจแกตนฉบับแรก ในการทํ าเอกสารใดๆก็ ตาม จะตองมี การตรวจสอบความถู กตองในการใชตัวอักษรของเนื้อหา ภายในเอกสารนั้นๆกอนที่จะทําการเผยแพรออกไปเพราะหากเกิดความผิดพลาดขึ้นมาแลววิ ธี แกไขมี ทางเดี ยวคื อ ตองพิ มพใหม ทั้งหมด ซึ่ งหมายถึ งจะตองเพิ่ มตนทุ นและสิ้นเปลื องวัตถุ ดิ บเพิ่ มดวยและ เปนสิ่งที่ บอกถึ งคุ ณภาพงานนั้นๆได ซึ่ งมี ผลต อความน าเชื่ อถื อที่ ผูอ านมี ต อผูเผยแพรโดยพิ จารณาตาม หลักดังนี้ -ความถูกตองในการใชคําอธิบาย เชน ตัวสะกดพยัญชนะของคํา ฯลฯ -ความสัมพันธระหวางรูปประกอบ กับ คําอธิบาย -การจัดเรียงเนื้อหาในหนากระดาษ 3.8ตั้งชื่อหนังสือและตกแตงความสวยงาม ชื่อของหนังสื อ เป นส วนที่ สํ าคัญส วนหนึ่ งเพราะเป นสิ่ งดึ งดู ดความสนใจของผูอ านถาหากชื่ อ หนังสือไมนาดึงดูดใจจะสงผลตอความรูสึกอยากอานของผูอานอยางมากที เดี ยวโดยตั้งชื่ อว า“ ออกแบบ ระบบไฟฟาแสงสวางภายในอาคารดวย ....DIALuxversion 4.4 ” 36 ความสวยงามของหนังสื อเป นสิ่ งสํ าคัญอี กส วนซึ่ งสามารถดึ งดู ดความสนใจของผูอ านไดไม ว าจะเป นความสวยงามของปกนอกหรื อการตกแต งหนากระดาษภายในหนังสื อรวมไปถึ งการใหสี สัน ของส วนต างๆทํ าใหกระตุนความน าสนใจในการอ านของผูอ านโดยมี การตกแต งความสวยงามในส วน ตางๆดังตอไปนี้ 1. ปกนอกดานหลัง สันปกและดานหน า รูปที่ 3.3 ภาพหนาปกของหนังสือคูมือ 2. เลขหนากระดาษของเนื้อหา เลขหนาเป นรู ปฟ นเฟ องสี สันต างๆกันไปแต ละ Chapterซึ่ งมี สองแบบคื อ ดานซายจะมี ตัวหนังสื อเขี ยนไวว า Chapterที่ เท าไหรส วนดานขวาจะเขี ยนไวว า DIALux4.4ส วนตรงกลางของ ฟนเฟองมีไวสําหรับใสเลขหนานั้นๆ ถูกจัดวางที่มุมลาง ทางดานนอกของหนากระดาษ ดังนี้ 37 -Chapter 1 สีแดง รูปที่ 3.4 ตกแตงเลขหนาบทที่ 1 -Chapter 2 สีเขียว รูปที่ 3.5 ตกแตงเลขหนาบทที่ 2 -Chapter 3 สีน้ําเงิน รูปที่ 3.6 ตกแตงเลขหนาบทที่ 3 38 -Chapter 4 สีสม รูปที่ 3.7 ตกแตงเลขหนาบทที่ 4 -Chapter 5 สีมวง รูปที่ 3.8 ตกแตงเลขหนาบทที่ 5 3.ชื่ อของ Chapter เป นรู ปหลอดไฟฟ าและต อทายดวยชื่ อของ Chapterนั้นๆอยู ที่ ตํ าแหน งทางดาน ซายบนของ หนากระดาษดังนี้ -Chapter 1 รูปที่ 3.9 ตกแตงขอบกระดาษบทที่ 1 39 -Chapter 2 รูปที่ 3.10 ตกแตงขอบกระดาษบทที่ 2 -Chapter 3 รูปที่ 3.11 ตกแตงขอบกระดาษบทที่ 3 -Chapter 4 รูปที่ 3.12 ตกแตงขอบกระดาษบทที่ 4 -Chapter 5 รูปที่ 3.13 ตกแตงขอบกระดาษบทที่ 5 3.9จัดทําคูมือ เมื่ อตรวจสอบความถู กตองของเนื้อหา และทํ าการตกแต งความสวยงามเรี ยบรอยแลวจะตอง จัดทํ าออกมาเป นรู ปเล มหนังสื อขนาด ½ A4 โดยปกติ แลวสํ านักพิ มพทั่ วไปจะทํ าการพิ มพหนังสื อโดย ส งใหโรงพิ มพทํ าการพิ มพ ซึ่ งโรงพิ มพจะรับพิ มพก็ ต อเมื่ อตองการทํ าหนังสื อเป นจํ านวนมากเท านั้น ดังนั้น จึงตองใชเครื่อง Printer ในการพิมพหนังสือออกมา กระดาษ A41 แผ น สามารถพิ มพหนากระดาษได 4 หนา ดังนั้น จึ งตองจัดหนากระดาษใหมี จํ านวนที่ หารดวย 4 ลงตัวจึ งจะพิ มพไดโดยที่ ไม มี กระดาษเหลื อทิ้งโดยมี ขั้นตอนการจัดเรี ยง หนากระดาษดังตอไปนี้ 40 1. การจัดเรียงหนากระดาษปกติ เนื้อหาของคูมื อในตอนแรกจะมีการจัดเรียงลําดับดังรูป 3.14 รูปที่ 3.14 การเรียงหนาปกติ ซึ่ งไม สามารถนํ ามาพิ มพและเขาเล มเป นหนังสื อได เพราะลํ าดับการเรี ยงหนาไม ถู กตองอี กทั้ง ดานหลังของกระดาษก็ยังไมไดทําการพิมพ 2. วิธีเรียงหนากระดาษ วิธีเรียงหนากระดาษคือทําการจัดเรียงคูของหนากระดาษ (ดัมมี่) ใหเปนไปตามตารางที่ 3.1 41 ตารางที่ 3.1 คู ของหนากระดาษ (ดัมมี่) 42 โดยปกติแลวโรงพิมพที่รับพิมพหนังสือจํานวนมากๆจะใชกระดาษขนาดใหญ ในการพิ มพจึ งตอง จัดหนาหนังสื อใหมี จํ านวนหนาลงตัว เพื่ อใหจัดวางในกระดาษไดพอดี(ไม มี กระดาษเหลื อ) เช น16 หนายก คื อ ตองมี จํ านวนหนากระดาษทั้งหมดของหนังสื อ หารดวย 16 ลงตัว แต ในกรณี ที่ ไม ไดใหโรง พิ มพทํ าการพิ มพแต ใชวิ ธี ใช Printer พิ มพออกมา ซึ่ งใชกระดาษขนาดA4ดังนั้นจึ งจัดหนากระดาษใหมี จํานวนหนา หารดวย 4 ลงตัว ก็เพียงพอแลว จากตารางที่3.1 จะเห็ นว ามี ทั้งหมด 156 หนา (ไม รวมปก) เมื่ อหารดวย 4จะได 39 คื อใช กระดาษในการพิ มพทั้งหมด 39 แผ น (พิ มพทั้งดานหนาและหลัง)โดยจัดหนากระดาษเป นไฟล word สองไฟล คือ ไฟลProjectPrintดานนอก และ ProjectPrintดานใน ดังรูปที่ 3.15 รูปที่ 3.15 ไฟลสําหรับพิมพ คูมือ โดยใหไฟล ProjectPrint ดานนอก และไฟล ProjectPrint ดานในจัดเรี ยงหนากระดาษ ดังรู ปที่ 3.16 และรูปที่ 3.17 รูปที่ 3.16 การจัดเรียงลําดับหนาของไฟลPrintProject ดานนอก 43 รูปที่ 3.17 การจัดเรียงลําดับหนาของไฟล PrintProject ดานใน วิ ธี พิ มพคื อ ใหพิ มพจากไฟล PrintProjectดานในไปก อนจะไดกระดาษซึ่ งมี เนื้อหาดานเดี ยว มาหนึ่ งชุ ด จากนั้นนํ ากระดาษชุ ดเดิ ม ไปพิ มพอี กดานโดยใชไฟล PrintProjectดานนอกจะไดลํ าดับ หนากระดาษดังรูปที่ 3.18 รูปที่ 3.18 ผลลัพธจากการพิมพ 44 จากนั้นนํามาซอนกัน โดยใหลําดับหนาสุดทายของไฟล ProjectPrint ดานในอยูขางบนสุด (หนา 78 – 79)ตัดกระดาษที่ กลางแผ นและพับเขาหากันจะไดหนังสื อคู มื อซึ่ งมี ลํ าดับหนาเสร็ จสมบู รณ ดังรู ป ที่ 3.19 รอยตัดกลาง ซีกขวา ซีกซาย พับเขาหากัน รูปที่ 3.19 รูปเลมหนังสือ 3. ปญหาในการพิมพคูมื อ เครื่อง Printer โดยปกติแลว จะมีขอบเขตในการพิ มพอยู คื อ ไม สามารถพิ มพถึ งขอบกระดาษได ดังรูปที่ 3.20 พิมพไมได ขอบเขตการพิมพ รูปที่ 3.20 ขอบเขตในการพิมพของ Printer 45 ทํ าใหเวลาพิมพจริงเกิดปญหาดังรูปที่ 3.21 รูปที่ 3.21 เปรี ยบเทียบภาพที่ถูกตองกับปญหาที่เกิดในการพิมพ จากรู ปที่3.21 จะเห็ นว าเลขหนา ที่ ทํ าการตกแต งไวที่ ขอบกระดาษมุ มล างนั้นเครื่ อง Printer ไมสามารถพิมพถึงขอบกระดาษไดทําใหภาพบางสวนหายไป 4. แกป ญหาการพิมพ ทํ าการเลื่ อนภาพของเลขหนากระดาษใหเขามาอยู ในขอบเขตที่ เครื่ อง Printerสามารถพิ มพได และทําการตัดสวนที่เครื่องพิมพไมสามารถพิมพไดออกไปกอนที่จะทําการเขาเลม ดังรูปที่ 3.22 รูปที่ 3.22 แก ปญหาการพิมพ 46 5. รูปเลม เมื่ อนํ าเนื้อหาของคู มื อและหนาปกที่ จัดทํ ามาเขารู ปเล มโดยวิ ธี สันกาวแลว จะไดรู ปเล มหนังสื อ ดังรูปที่ 3.23 และรูปที่ 3.24 รูปที่ 3.23 หนั งสือคูมือการใช DIALux ดานหนา 47 รูปที่ 3.24 หนั งสือคูมือการใช DIALux ดานหลัง 3.10ประเมินผล จุ ดประสงคในการประเมิ นผลคู มื อการใชโปรแกรม DIALuxเพื่ อตรวจสอบความคิ ดของผูใชที่ มี ตอคูมือการใชโปรแกรม DIALuxและเมื่อมีการใหคะแนนในเกณฑตางๆคือ - รูปแบบการจัดวางเนื้อหา - ความเหมาะสมของคําที่ใชอธิบายภายในคูมือ - ความละเอียดขั้นตอนการใชโปรแกรมภายในคูมือ - ความเหมาะสมของรูปที่ใชประกอบคําอธิบาย ทํ าใหรู ว าคู มื อที่ จัดทํ านั้นมี ขอดี ขอเสี ยหรื อมี ขอบกพร องใดๆที่ ผูจัดทํ ามองขามไปหรื อไม ผูจัดทําจะไดนําไปปรับปรุงแกไขเพิ่มเติมในสวนนั้นๆใหดีขึ้น 48 บทที่ 4 วิธีการทดลอง และผลการทดลอง 4.1 การทดลองที่ 1 เปรียบเทียบผลการคํานวณระหวางวิธีลูเมนกั บโปรแกรม DIALux เพื่อทดสอบวาโปรแกรม DIALuxมีความสามารถจําลองระบบไฟฟาแสงสวางออกมาไดคา จํานวนหลอดและคาความสองสวางใกลเคียงกับการคํานวณดวยวิธีลู เมน 4.1.1 อุปกรณที่ใชในการทดลอง 1. ตารางแสดงคาเปอรเซนตคาประสิ ทธิ ผลการสะทอนแสงสว างของโพรงเพดานและพื้นสํ าหรับ พื้นผิวการสะทอนแสงสวางที่แตกตางกัน (Percent Effective Ceiling and Floor Reflectances for Various Reflectance Combination)(John E. Kaufman. 1981 : 9-11) 2. ตารางสัมประสิทธิ์การใชประโยชนของดวงโคมชนิดตางๆ (John E. Kaufman. 1981 : 9-31) 3. ตารางแสดงคาสําหรับวิธีลูเมน (Tables for Lumen Method*)ของเปอร เซนตประสิทธิผลการ สะทอนแสงของโพรงเพดาน หรือโพรงพื้ นที่สําหรับการสะทอนแสงที่แตกตางกัน (John E. Kaufman. 1981 : 9-11) 4. กราฟแสดงเปอรเซนตความสกปรกตามคาดหวังของพื้นผิวหองสกปรก (John E. Kaufman. 1981 : 9-46) 5. ตารางคาประกอบความเสื่ อมสภาพของแสงสวางจากพื้นผิวหองสกปรก (John E. Kaufman. 1981 : 9-6) 6. โปรแกรม DIALux 4.1.2 วิธีการทดลอง หองปฏิ บัติ การมี ขนาดกวาง 16 m ยาว 24 m สู ง 3 m มี ค าสัมประสิ ทธิ์การสะทอนแสงของวัสดุ ที่ เพดาน,ผนังและพื้น เป น 70%,50%และ 20%ตามลํ าดับ พื้นโตะทํ างานอยู สู งจากพื้น 0.75m ตองการค าความส องสว างภายในหอง 500 ลักซ ใชโคมไฟฟ า Sylvania0046125SYL-LOUVERHR 158A2ขนาด 58 W5200ลู เมน(สมมุ ติ ให 1 หลอด / โคม) ซึ่ งมี ลักษณะดวงโคมไฟฟ าและกราฟการ กระจายแสงดังรูปที่ 4.1 49 รูปที่ 4.1 ดวงโคมไฟฟาและกราฟการกระจายแสง การคํานวณจะแบงออกเปน 3 ขั้นตอนคือ ขั้นตอนที่ 1 หาคาสัมประสิทธิ์การใชดวงโคมไฟฟา (CU) ขั้นตอนที่ 2 หาคาความเสื่อมสภาพของแสงสวางจากพื้นผิวหองสกปรก (RSDD) ขั้นตอนที่ 3 หาจํานวนดวงโคมไฟฟา ขั้นตอนที่ 1 ดวงโคมไฟฟาติดตั้งที่ระดับพื้นผิวเพดานดังรูปที่ 4.2 รูปที่ 4.2 ระดับการติดตั้งดวงโคมไฟฟา เมื่อความกวางหอง (W) =16 เมตร ความยาวหอง (L)=24 เมตร ความสูงหอง (H) =3 เมตร ความสามารถในการสะทอนแสงของโพรงเพดาน =70 % 50 ความสามารถในการสะทอนแสงของผนัง=50 % ความสามารถในการสะทอนแสงของโพรงพื้ น=20 % ความสูงโพรงของเพดาน h cc =0 เมตร ความสูงของโพรงห อง h rc = 2.25 เมตร ความสูงของโพรงพื้ น h fc = 0.75 เมตร จากสูตรการแบงสัดสวนโพรง อัตราสวนโพรงเพดาน (CCR) = 5 h cc [ (W+L) / (W×L) ] แทนคา=5(0) [ (16+24) / (16×24) ] =0 อัตราสวนโพรงหอง (RCR)= 5 h rc [ (W+L) / (W× L) ] แทนคา=5(2.25) [ (16+24) / (16×24) ] =1.172 อัตราสวนโพรงพื้น (FCR)= 5 h fc [ (W+L) / (W× L) ] แทนคา=5(0.75) [ (16+24) / (16×24) ] =0.391 จากตารางแสดงคาเปอรเซนตคาประสิทธิผลการสะทอนแสงสวางของโพรงเพดาน และพื้น สําหรับพื้นผิวการสะทอนแสงสวางที่แตกต างกัน (Percent Effective Ceiling and Floor Reflectances for Various Reflectance Combination)(John E. Kaufman. 1981 : 9-11) เมื่อ= 70 %,= 50 % เมื่อ CCR =0 จะได= 70 % และเมื่อ = 20 %, = 50 % เมื่อFCR =0.391 จะเห็นจากตารางวาไมมีคา FCR ที่ 0.391 ดังนั้นจึงตองใชหลักการสอดแทรก (Interpolate) ดังนี้ เมื่อFCR=0.2จะได=0.29 FCR=0.4จะได=0.29 เนื่องจาก FCR = 0.391 อยูระหวางคา FCR ที่ 0.2 และ 0.4 ซึ่งมีคาที่ไมตางกัน จะได=0.29 คิดใหเปน0.30หรือ30% จากตารางสัมประสิทธิ์การใชประโยชนของดวงโคมชนิดตางๆ(John E. Kaufman. 1981 :9-31) โคมแบบที่28 โคมหลอดฟลู ออเรสเซนตชนิ ดมี ตัวสะทอนแสงเป นอะลู มิ เนี ยม ซึ่ งใกลเคี ยงกับดวงโคมที่ เลือกใชในหองตัวอยาง เมื่อ=70 % ,=50 % ,RCR = 1.172 จะเห็นจากตารางวาไมมีคา RCR ที่ 1.172 ดังนั้นจึงตองใชหลักการสอดแทรกดังนี้ ที่RCR=1จะไดCU=0.72 RCR=2จะไดCU=0.65 51 ผลตางของ CU = 0.72 – 0.65=0.07และผลตางของ RCR = 2 – 1=1 ถา 0.172หนวยจะได0.172 x 0.07=0.01204 เพราะฉะนั้นค า CU จะเทากับ0.72 – 0.01204=0.70796 ขั้นตอนที่ 2 ดวงโคมไฟฟาเปนแบบกระจายแสงสวางกึ่งลง จากกราฟแสดงเปอรเซนตความสกปรก ตามคาดหวังของพื้นผิ วหองสกปรก (JohnE.Kaufman.1984:9-46)เมื่ อหองมี การทํ าความสะอาด 12 เดื อน / ครั้ง จะไดค าเปอรเซนตความสกปรกตามคาดหวังเท ากับ 12 %จากตารางแสดงค าประกอบ ความเสื่ อมสภาพของแสงสว างจากพื้นผิ วหองสกปรก (JohnE.Kaufman.1981:9-6)จากตารางจะ เห็นวาไมมีคา 12 % และไมมีคา RCR = 1.172 ดวย จึงตองใชหลักการสอดแทรกมาใช เมื่อเปอรเซนตความสกปรกตามคาดหวัง =10 % ที่ RCR=1จะไดRSDD=0.97 RCR=2จะไดRSDD=0.96 ผลตางของ RSDD =0.97 – 0.96=0.01และผลตางของ RCR = 1 ถา 0.172หนวยจะได0.172 x 0.01=0.0172 เพราะฉะนั่นที่ RCR เทากับ 1.172 และเปอรเซนตความสกปรกตามคาดหวังเทากับ 10 % จะได RSDD= 0.97 – 0.0172=0.9628 เมื่อเปอรเซนตความสกปรกตามคาดหวัง=20 % ที่ RCR=1จะไดRSDD=0.92 RCR=2จะไดRSDD=0.92 ไม มี ผลต าง เพราะฉะนั้นที่RCRเท ากับ 1.172 และเปอรเซนตความสกปรกตามคาดหวังเท ากับ 10 % จะไดRSDD= 0.92 เมื่อ RCR= 1.172 ที่เปอรเซนตความสกปรกตามคาดหวัง=20 %จะไดRSDD = 0.9628 เปอรเซนตความสกปรกตามคาดหวัง=10 %จะไดRSDD = 0.92 ผลตางของ RSDD =0.9628 – 0.92=0.0428 และผลตางของเปอรเซนตความสกปรกตามคาดหวัง = 20 – 10 = 10 แบงเปน 10 หนวยจะได 0.0428 / 10 = 0.00428 ถา 2หนวยจะได2 x 0.00428=0.00856 เพราะฉะนั่นที่ RCR เทากับ 1.172 และเปอรเซนตความสกปรกตามคาดหวังเทากับ 12 % จะไดRSDD = 0.9628 – 0.00856 = 0.95424 52 ขั้นตอนที่ 3 จากสูตร L total = (E x A) / (CU x MF x RSDD) เมื่อLtotal=ปริมาณจํานวนเสนแรงของแสงสวางที่ตองการทั้งหมด (ลูเมน) E=คาความสองสวาง (ลักซ) A=พื้นที่หอง (W x L) CU=สัมประสิทธิ์การใชประโยชนของดวงโคมไฟฟา MF=ตัวประกอบการบํารุงรักษา (0.8) RSDD=เปอรเซนตความสกปรกตามคาดหวังของพื้นผิวหองสกปรก แทนคาในสมการ L total =(500 x 16 x 24) / (0.70796 x 0.8 x 0.95424) =355258.8484ลูเมน คํานวณหาจํานวนดวงโคมไฟฟาซึ่งมีคา 5200 ลูเมน/โคม จากสูตร N=L total / l เมื่อN=จํานวนดวงโคมไฟฟา l=ปริมาณจํานวนเสนแรงของแสงสวางตอหนึ่งดวงโคมไฟฟา (ลูเมน) แทนคาในสมการ N=355258.8484 / 5200 =68.319 เพราะฉะนั้นตองติ ดตั้งดวงโคมไฟฟ าภายในหองจํ านวน 68 ดวงโคมไฟฟ าจึ งจะไดค าความส อง สวางภายในหอง 500 ลักซ จากนั้นใชโปรแกรม DIALux จําลองหองปฏิบัติการนี้โดยกําหนดเงื่อนไขเดียวกันกับการคํ านวณ ดวยวิ ธี ลู เมน ดังนี้ขนาดของหอง ใหมี ขนาดกวาง 16 เมตร ยาว 24 เมตร สู ง 3 เมตร สัมประสิ ทธิ์การ สะทอนแสงของเพดาน ผนัง และพื้นเป น 70% , 50% และ 20% ตามลํ าดับ พื้นโตะทํ างานอยู สู งจากพื้น 0.75mใชโคมไฟฟ า Sylvania 0046125 SYL-LOUVER HR 158 A2 ขนาด 58 W 5200 ลู เมนโดยมี วิธีกําหนดคาในโปรแกรม DIALux ดังตอไปนี้ 1. เขา DIALux Light Wizard 2. กําหนดขนาดหองใหมีขนาดกวาง 16 เมตร ยาว 24 เมตร สูง 3 เมตร ดังรูปที่ 4.3 53 รูปที่ 4.3 กําหนดขนาดหอง 3.กํ าหนดสัมประสิ ทธิ์การสะทอนแสงของเพดาน ผนัง และพื้นเป น 70%,50%และ 20% ตามลําดับ ดังรูปที่ 4.4 รูปที่ 4.4 กําหนดสัมประสิทธิ์การสะทอนแสง 4. กําหนดคา Maintenance factor เปน 0.8 ดังรูปที่ 4.5 รูปที่ 4.5 กําหนดคา Maintenance factor 5. กําหนดความสูงของพื้นที่ทํางานคือ 0.75 เมตร ดังรูปที่ 4.6 54 4.6 กําหนดความสูงของพื้นที่ ทํางาน 6. กํ าหนดใหใชโคมไฟฟ า Sylvania 0046125 SYL-LOUVER HR 158 A2 ขนาด 58 W 5200 ลูเมน ดังรูปที่ 4.7 รูปที่ 4.7 ดวงโคมไฟฟา Sylvania 58 W 5200 ลูเมน 7. กําหนดลักษณะการติดตั้งดวงโคมไฟฟา ใหอยูที่พื้นผิวเพดานดังรูปที่ 4.8 รูปที่ 4.8 ความสูงการติดตั้งดวงโคม 55 8. กํ าหนดใหค าความส องสว างภายในหองเป น 500 ลักซ และกดปุ มSuggestionดังรู ปที่4.9 โปรแกรมจะคํานวณใหวาตองติดตั้งดวงโคมเทาไหร รูปที่ 4.9 กําหนดคาความสองสวาง 9. โปรแกรมทําการติดตั้งดวงโคมจํานวน 72 โคมดังรูปที่ 4.10 รูปที่ 4.10 การวางดวงโคม 56 เมื่อใหโปรแกรม DIALux ทําการคํานวณคาความสองสวางออกมาจะไดคาความสองสวางดังนี้ - ความสองสวางเฉลี่ย (E avg )=550ลักซ - ความสองสวางต่ําสุด (E min )=340ลักซ - ความสองสวางสูงสุด (E max )=657ลักซ - u0 (E min / E avg )=0.62 - E min / E max =0.52 และมีเสนของความสองสวางดังรูปที่ 4.4 รูปที่ 4.11 เส นแหงการสองสวาง 4.1.3 ผลการทดลอง จากการคํ านวณหาจํ านวนดวงโคมไฟฟ าที่ ใชสํ าหรับติ ดตั้งภายในหองเพื่ อใหไดค าความส อง สว าง 500 ลักซ จะตองติ ดตั้งดวงโคมไฟฟ าจํ านวน 68 โคมเมื่ อใชโปรแกรม DIALuxโดยกํ าหนดใหค า ความส องสว างภายในหองมี500 ลักซ โปรแกรมจะติ ดตั้งดวงโคมให 72 โคม จะเห็ นว าไดจํ านวนดวง โคมไฟฟาจํานวนใกลเคียงกัน 57 4.2การทดลองที่ 2 ประเมิ นผลคูมือ 4.2.1 อุปกรณที่ใชในการทดลอง อุ ปกรณที่ ใชสํ าหรับทดลองประสิ ทธิ ภาพของคู มื อการใชโปรแกรมออกแบบและคํ านวณระบบ ไฟฟ าแสงสว าง DIALUXVersion4.4จะใช “ตารางสํ าหรับประเมิ นคู มื อการใชโปรแกรมออกแบบและ คํานวณระบบไฟฟาแสงสวาง DIALux Version 4.4 ” (ตารางที่ 4.1) จะมีเกณฑการประเมิน 4 ขอ คือ 1.รูปแบบการจัดวางเนื้อหา 2.ความเหมาะสมของคําที่ใชอธิบายภายในคูมือ 3.ความละเอียดขั้นตอนการใชโปรแกรมภายในคูมือ 4.ความเหมาะสมของรูปที่ใชประกอบการอธิบาย โดยจะทํ าการประเมิ นแยกย อยทุ กบทเพื่ อความละเอี ยดในการประเมิ นส วนเกณฑการให คะแนนมี ทั้งหมด 6 ระดับคื อ5 คะแนน คื อมากที่ สุ ดและค อยๆลดลงไปจนถึ ง 0 คะแนนคื อนอย ที่ สุ ดโดยประเมิ นในทุ กๆบทที่ มี ในคู มื อซึ่ งมี5 บทดังนั้นคะแนนสู งสุ ดในแต ละบทคื อ 20 คะแนน คะแนนต่ําสุดคือ 0 คะแนน รวมทั้งสิ้น คะแนนสูงสุดคือ 100 คะแนน คะแนนต่ําสุดคือ 0 คะแนน จากนั้นจะทํ าการหาค าเฉลี่ ยคะแนนในแต ละบท และนํ ามารวมเพื่ อหาค าเฉลี่ ยโดยรวม เพื่ อ วัดผลการประเมิน โดยใชสูตรหาคาเฉลี่ย 4.2.2วิธี การทดลอง ทดลองโดยการสุ มตัวอย างทดลองคื อ คนจํ านวนหนึ่ ง เพื่ อใหอ านคู มื อการใชโปรแกรม ออกแบบและคํ านวณระบบไฟฟ าแสงสว าง DIALUX ประกอบกับการใชโปรแกรม DIALUX Version 4.4 ตามที่อธิบายไวในคูมือ เมื่ อใชโปรแกรม DIALUXตามคํ าอธิ บายในคู มื อจนเสร็ จสิ้นแลวจะใหกลุ มตัวอย างทํ าการ ประเมินตามแบบประเมินในตารางที่ 4.1 เพื่อนํากลับมาคํานวนเปนคาประสิทธิภาพ 58 ตาราง 4.1แบบประเมินคูมือการใชโปรแกรมออกแบบและคํานวณระบบไฟฟาแสงสวาง DIALux Version 4.4 4.2.3ผลการทดลอง 59 ไดทําการประเมินทั้งสิ้น 13 คน ซึ่งแสดงในภาคผนวกซ.“ผลการใชตารางสําหรับประเมินคูมือ การใชโปรแกรมออกแบบและคํานวณระบบไฟฟาแสงสวางDIALuxVersion4.4”นํามาหาคาเฉลี่ยของ แตละบท ดังนี้ ตารางที่ 4.2 คะแนนผลการประเมินคูมือ DIALux Version 4.4 หัวขอคาเฉลี่ยคะแนน บทที่ 1 (20คะแนน) 17.46153846 บทที่ 2 (20คะแนน) 17.23076923 บทที่ 3 (20คะแนน) 17.69230769 บทที่ 4 (20คะแนน) 17.38461538 บทที่ 5 (20คะแนน) 17.38461538 รวม(100 คะแนน) 87.15384614 รวมคะแนนทั้ งหาบทจะได87.15384614คะแนนจากคะแนนเต็ม100คะแนนเพราะฉะนั้น ผลการประเมินคูมือการใชโปรแกรมออกแบบและคํานวณระบบไฟฟาแสงสวาง DIALux Version 4.4 มี ประสิทธิภาพรอยละ 87 60 บทที่5 สรุปผลการทดลองและขอเสนอแนะ 5.1สรุปผลการทดลอง จากการทดลองที่1 ทํ าการคํ านวณหาจํ านวนดวงโคมที่ จํ าเป นตองติ ดตั้งภายในหอง โดยใช Lumenmethodผลคื อจะตองใชดวงโคมไฟฟ าจํ านวน 68 โคม จึ งจะไดค าความส องสว างเฉลี่ ยภายใน หองมีคา 500 ลักซเมื่อเปรียบเทียบกับจํานวนดวงโคมที่ คํ านวณโดยใชโปรแกรม DIALux ผลคื อตองใช ดวงโคมไฟฟ าจํ านวน 72 โคม จะเห็ นว ามี ค าใกลเคี ยงกับค าที่ ตองการ ดังนั้นโปรแกรมDIALuxจึ งมี ความนาเชื่อถือและสามารถใชเปนเครื่องมือในการออกแบบระบบไฟฟาแสงสวางได จากการทดลองที่2 การทํ าแบบประเมิ นคู มื อโดยใหกลุ มตัวอย างไดทดลองใชโปรแกรม DIALuxตามขั้นตอนในคู มื อที่ ทํ าการจัดทํ าจนสามารถสรางผลงานออกมาไดจากนั้นจึ งใหทํ าการ ประเมิน สรุปการประเมิ นโดยการหาคาเฉลี่ยเลขคณิตของแตละบท และนํามารวมกัน ไดคะแนน 87.15 คะแนน จาก 100 คะแนนคิดเปนประสิทธิภาพรอยละ 87 ในขั้นตอนการใหกลุ มตัวอย างทํ าการประเมิ น คูมือนั้นพบวากลุมตัวอยางมีทักษะการใชโปรแกรม DIALux เพิ่มมากขึ้น และสามารถใชโปรแกรมสราง ผลงานไดดวยตนเอง 5.2 ขอเสนอแนะ 1. ควรมีการเพิ่ม CD ซึ่งมีไฟล Video สําหรับแสดงขั้นตอนการใชงานโปรแกรม DIALux แนบคู กับหนังสือคูมือการใชโปรแกรมเพื่อใหผูใชงานไดเห็นภาพในการทํางานจริง 2. ควรเพิ่มเนื้อหาเกี่ยวกับการออกแบบระบบไฟฟาแสงสวางภายนอกอาคาร และการออกแบบ ระบบไฟฟาแสงสวางถนน ซึ่งเปนความสามารถของโปรแกรม DIALux เขาไปดวย 3. ควรเพิ่มตัวอยางการใชโปรแกรมเพื่อออกแบบระบบไฟฟาแสงสวางใหมากกวานี้ 4. ควรเพิ่มวิธีดาวนโหลดโปรแกรม DIALux จาก Internet ดวย เพื่อที่ผูอานจะสามารถหา Download โปรแกรม DIALux ไดดวยตนเอง 61 เอกสารอางอิง [1] การใช Photoshop 7.0 .การสรางตัวอักษรหลอดไฟนี ออน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.bcoms.net/photoshop/fontneon.asp [มกราคม 2552] [2]ชาญศักดิ์ อภัยนิ พัฒน.เทคนิ คการออกแบบระบบไฟฟ าแสงสว าง.พิ มพครั้งที่4.กรุ งเทพฯ สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี, 2545. [3] ธนบูรณ ศศิภานุเดช. การออกแบบระบบแสงสวางรวมทั้งระบบไฟฟาระบบสัญญาณเตือนภัยและ ระบบการติดตอสื่อสาร. พิมพครั้งที่ 1.กรุงเทพฯ บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่นจํากัด, 2537 62 ภาคผนวก 63 ภาคผนวก ก. คําจํากัดความและคําที่ใช กันทั่วไป 1.ลู เมน :เป นหน วยความสว างของแสงซึ่ งพลังงานรังสี ที่ ปล อยออกมาภายใน หนึ่ งหน วยมุ มของ ของแข็งโดยจุดหนึ่งของแหลงที่ปลอยแสงที่มี ความเขมสม่ํ าเสมอ เท ากับหนึ่ งแคนเดลาความสว าง หนึ่งลักซมี ค าเท ากับหนึ่ งลู เมนต อตารางเมตรค าลู เมน(lm)เป นการวัดระดับความสว างของแสงที่ เที ยบ เท าไดกับค าวัตตซึ่ งถู กถ วงน้ํ าหนักใหเขากับการตอบสนองของตาของ“ผูสังเกตุ การณ มาตรฐาน”โดย 1วัตต = 683ลูเมน ที่มีความยาวคลื่น555นาโนเมตร 2.คาประสิทธิผลการติดตั้ง : เปนคาเฉลี่ยของความสวางที่ถูกรักษาไวโดยใหอยู บนระนาบการทํ างานใน แนวนอนตอคาวัตตของวงจรที่มีแสงสวางภายในทั่วไปโดยมีหนวยเปนลักซ / วัตต / ตารางเมตร 3.อัตราส วนประสิ ทธิ ผลของโหลดติ ดตั้ง :เป นค าอัตราส วนของค าประสิ ทธิ ผลเป าหมายของโหลดและ ติดตั้ง 4.โคมไฟ :เปนชุ ดใหแสงสว างที่ สมบู รณโดยจะประกอบไปดวยหลอดไฟหนึ่ งดวงหรื อหลายดวงดวย กันโดยมีสวนที่ถูกออกแบบมาเพื่อสงแสงสวางจัดวางและปองกันหลอดไฟและ เชื่อมตอหลอดไฟ เขากับสายไฟ 5.ลักซ :เป นหน วยวัดของความสว างบนพื้นผิ ว ความสว างเฉลี่ ยที่ รักษาไว คื อค าเฉลี่ ยของระดับ ฟลักซที่วัดไดที่หลายๆจุดในพื้นที่ที่กําหนดไวหนึ่งลักซมีคาเทากับหนึ่งลูกเมนตอตารางเมตร 6.ความสูงของการติดตั้ง:เปนความสูงของชุดโคมไฟฟาหรือหลอดไฟเหนือระดับพื้นที่ใชงาน 7.ประสิ ทธิ ผลของการกระจายแสงที่ ระบุ ไว:เป นอัตราส วนของลู เมนที่ ปล อยออกมากับอัตราการใช พลังงานที่แสงในหนวยลูเมนตอวัตต 8.ค าดัชนี ของหอง :เป นค าอัตราส วนซึ่ งสัมพันธกับมิ ติ ของแผนผังทั้งหมดต อหองต อความสู ง ระหวางพื้นราบของการทํางานและพื้นราบของอุปกรณติดตั้ง 9.ประสิ ทธิ ผลของโหลดเป าหมาย :เป นค าประสิ ทธิ ผลของโหลดติ ดตั้งที่ พิ จารณาว าจะสามารถทํ าได โดยมีประสิทธิผลสูงสุดมีหนวยเปนลักซ / วัตต / ตารางเมตร 10. ตัวประกอบการใชงาน (UF):เป นสัดส วนของค าการปล อยพลังงานแสงสว างที่ ปล อยออก มาจาก หลอดไฟไปยังพื้นราบของการทํ างาน เป นการวัดประสิ ทธิ ผลของแบบแผนของแสงสว างการส งทอด พลังงาน(lm)=4π*ความเขมของแสงสว าง (cd) ความแตกต างระหว างลักซและลู เมน คื อ ลักซ จะคํ านึ งถึ งพื้นที่ ในบริ เวณที่ อัตราการส งทอดพลังานครอบคลุ มถึ งค า 1000 ลู เมน ที่ จํ ากัดอยู ในพื้นที่ หนึ่ งตารางเมตรจะทํ าใหพื้นที่ นั้นสว างขึ้นโดยมี ความสว าง 1000 ลักซ ส วนค า1000 ลู เมน เหมือนกัน ที่แผครอบคลุมพื้นที่ 10 ตารางเมตร จะใหความสวางนอยกวาคือเพียงแค100 ลักซ 11.Contrast:ความแตกต างของสี ระหว างวัตถุ กับสิ่ งต างๆที่ อยู รอบๆถามี ความแตกต างกันมาก การ มองเห็นยิ่งทําไดงายขึ้น 64 ภาคผนวก ข. การพิจารณาการออกแบบระบบแสงสวางในอาคารสํานักงาน 1.การออกแบบระบบแสงสวางบริเวณทั่วไปของสํานักงาน โดยปกติบริเวณทั่วไปของสํานักงานมักจะมีงานหลายๆอยางรวมอยูในบริเวณเดียวกันเช นงาน พิ มพดี ดงานคอมพิ วเตอรตลอดจนงานเอกสารต างๆหรื ออาจจะมี การเปลี่ ยนตํ าแหน งของอุ ปกรณ หรื อโตะทํ างานเพื่ อสรางบรรยากาศในการทํ างานอยู บ อยครั้งหรื อเพิ่ มเติ มโตะเกาอี้เพื่ อขยายแผนก หรือเพิ่มจํานวนบุคลากรการออกแบบระบบแสงสว างจึ งมี ความจํ าเป นที่ จะตองออกแบบใหมี ความสว าง สม่ํ าเสมอทั่ วบริ เวณที่ ทํ างาน ดังนั้น จึ งเหมาะที่ จะทํ าการติ ดตั้งดวงโคมไฟฟ าแบบทั่ วไปมากที่ สุ ดและ ยังทํ าใหเกิ ดความคล องตัวในการทํ างานมากขึ้นตลอดจนมี ความเป นระเบี ยบเรี ยบรอยและความ สวยงาม นอกจากนี้ยังตองคํ านึ งถึ งการถ ายเทความรอนที่ เกิ ดจากหลอดไฟฟ าบัลลาสตและดวงโคม ไฟฟาประกอบดวยเพราะจะมีผลกระทบตอระบบการทําความเย็นและการหมุนเวียนอากาศภายในหอง 2.การออกแบบระบบแสงสวางบริเวณหองโถงของสํานักงาน หองโถงในที่ นี้หมายถึ งหองรับรองหรื อหองที่ จัดเตรี ยมไวสํ าหรับคนที่ มาติ ดต องานนั่ งคอย หรื อพักผ อนในการออกแบบระบบแสงสว างสํ าหรับหองโถงจะตองคํ านึ งถึ งบรรยากาศ และทํ าใหเกิ ด ความอบอุ นและความประทับใจกับบุ คคลที่ มาอยู ในหองโถงโดยทั่ วไปมักจะมี การติ ดตั้งหลอดใส มากกว าที่ จะติ ดตั้งหลอดฟลู ออเรสเซนตหรื อติ ดตั้งในลักษณะของหลอดไฟฟ าส องลง(DownLight) ทั้งหมดก็ไดและบริ เวณที่ มี การโชวสิ่ งของต างๆเช นรู ปภาพ ตัวอย างสิ นคา เครื่ องหมายสํ าคัญของบริ ษัท อาจจะตองติดตั้งดวงโคมไฟฟาที่ใหแสงสวางเฉพาะจุดดวย เพื่อเนนใหเห็นถึงความชัดเจนของสิ่งของ 3.การออกแบบระบบแสงสวางบริเวณหองประชุม หองประชุ มจะใชเป นสถานที่ ที่ ใชในการประชุ มผูบริ หารพนักงานตลอดจนการโชวสิ นคา ฯลฯหรื ออาจจะมี การแสดงขอมู ลที่ เป นตัวอักษรตัวเลขหรื อตารางแสดงค าต างๆเพื่ อใชประกอบใน การประชุ มดังนั้นจึ งตองมี แสงสว างที่ เพี ยงพอในการดู ขอมู ลไดอย างสบายตาไม ทํ าใหกลามเนื้อตา ทํางานหนัก อันเปนสาเหตุในการเกิดการเสื่อมของสายตา บางครั้งอาจมี การฉายสไลด การใชเครื่ องฉาย ภาพขามศรี ษะ(OverheadProjector)ตลอดจนวี ดี โอ ฯลฯ ระดับแสงสว างอาจจะตองมี การเปลี่ ยนแปลง ในบางครั้งบางคราวอาจจะตองเสริ มระบบการหรี่ แสงสว างเขาไปดวยเพื่ ออํ านวยความสะดวก และ จะตองติ ดตั้งระบบไฟฟ าไวหลายชุ ดหรื อในบริ เวณที่ มี การโชวขอมู ลอาจจะติ ดตั้งระบบแสงสว าง เฉพาะจุดดวย 65 4.การออกแบบระบบแสงสวางบริเวณหองผูบริหาร หองผูบริ หารหมายถึ งหองทํ างานส วนตัวของเจาของกิ จการหรื อประธานบริ ษัท ฯลฯ โดยทั่ วไปแลวการออกแบบจะพยายามเนนใหเกิ ดบรรยากาศหรื อความรูสึ กที่ อยากจะทํ างาน และมี ความคลองตัวสูงในการทํางานการออกแบบจะใชหลอดฟลูออเรสเซนตติดตั้งอยูเหนือบริเวณโตะทํ างาน หรือดานหนาหรือดานขางก็ไดแตถาติดตั้งดานขางโตะทํางานควรจะติดตั้งไวทั้ง 2 ขางของโตะทํ างาน แตถาเปนการติดตั้งหลอดไฟฟาทางดานหนาหรือเหนือโตะทํางานควรหลีกเลี่ยงการใชหลอดไสเพราะ เปนแหลงกําเนิดแสงสวางที่มีขนาดเล็กซึ่งอาจจะทําใหเกิดเงาไดงายบริเวณโตะทํางาน 5.การออกแบบระบบแสงสวางบริเวณหองน้ํา โดยปกติ หองน้ํ าจะมี2 ลักษณะคื อหองน้ํ ารวมและหองน้ํ าส วนบุ คคลหองน้ํ ารวมอาจจะมี ไว บริการลูกคาหรือพนักงานสวนใหญในสํานักงานการออกแบบระบบแสงสวางจะตองยึดหลักการที่วาการ ใหแสงสว างนั้นไม จํ าเป นจะตองใหแสงสว างที่ มี ปริ มาณแห งการส องสว างเท ากับในสํ านักงานอาจจะใช หลอดใสชนิ ดแบบหลอดใส (Clear)หรื อหลอดฟลู ออเรสเซนตชนิ ดแสงสว างสี กลางวัน (Daylight)หรื อ ทั้ง 2 อย างในหองเดี ยวกันการเลื อกใชหลอดไฟฟ าทั้ง 2 อย างอาจจะทํ าใหบรรยากาศความรูสึ กที่ ตางกันออกไป 6.การออกแบบระบบแสงสวางบริเวณทางเดิน บริ เวณทางเดิ นไม จํ าเป นตองใหแสงสว างที่ มี ปริ มาณเท ากับในสํ านักงานแต ก็ ไม ควรต่ํ าเกิ นไป โดยทั่วไปไมควรใหนอยกวา 15 ฟุตแคนเดิลหรือ 161.4 ลักซ การใหแสงสวางอยางสม่ําเสมอ อาจจะเป น การเนนถึ งบรรยากาศของความเป นระเบี ยบเรี ยบรอยและความสวยงามการติ ดตั้งดวงโคมไฟฟ า สามารถติดตั้งได 2 ลักษณะ คือ -ตํ าแหน งของดวงโคมไฟฟ าอาจจะติ ดตั้งในลักษณะเดี ยวกับดวงโคมไฟฟ าสํ าหรับไฟส องลง (Downlight)คือติดเขาไปในเพดานแลวใหแสงสวางกระจายลงสูพื้น -ตําแหนงของดวงโคมไฟฟาอาจจะติดตั้งกับผนังตามแนวทางเดิ นโดยใชโคมไฟฟ าแบบโคม ไฟกริ่งติดเปนระยะหางเทาๆกัน การติ ดตั้งโคมไฟฟ าทั้ง 2 แบบนี้ระยะห างระหว างดวงโคมไฟฟ าไม ควรใหเกิ น 1.5 เท าของ ความสูงของดวงโคมไฟฟาเหนือพื้นที่งานหรืออาจจะติดตั้งตามสภาพของโครงสรางอาคารแตละแหง 66 7.การออกแบบระบบแสงสวางไฟฟาฉุ กเฉิ น วัตถุ ประสงคในการออกแบบก็ เพื่ อที่ จะใหแสงสว างเกิ ดขึ้นตลอดเวลาของการทํ างานปกติ ใน สํ านักงานเมื่ อระบบไฟฟ าหลักของสํ านักงานดับระบบไฟฟ าฉุ กเฉิ นจะตองทํ างานทันที ซึ่ งโดยทั่ วไป แลวอุ ปกรณที่ ใหแสงสว างไฟฟ าฉุ กเฉิ นนี้จะเป นพวกแสงสว างไฟฟ าฉุ กเฉิ นอัตโนมัติ(Automatic EmergencyLight)ซึ่ งทํ างานดวยระบบอิ เล็ กทรอนิ กส เมื่ อระบบไฟฟ าหลักกลับมาทํ างานตามปกติ ระบบแสงสว างไฟฟ าฉุ กเฉิ นก็ จะถู กตัดออกจากระบบทันที โดยอัตโนมัติ โดยปกติ แลวระบบแสงสว าง ไฟฟ าฉุ กเฉิ นมักจะนิ ยมติ ดตั้งไวที่ ทางหนี ไฟฟ าประตู เขาออกสํ านักงานหนาลิ ฟตหรื อทางขึ้น – ลง บันไดเปนตน 67 ภาคผนวก ค. อัตราสวนโพรงหองที่ไมใชหองสี่เหลี่ยม 1. พื้นที่มีรูปรางเปนลักษณะเปนรูปตัว L ( L – ShapedRoom) หองที่มีรูปรางลักษณะเปนรูปตัว L ดังรูปที่ ค.1 สูตรที่ใช อัตราสวนโพรง =[ 2.5 h × 2 (W+L) ]/ (WL – XY) รูป ค.1 หองรู ปตัว L (L-Shaped Room) 2. พื้นที่มีรูปรางลักษณะเป นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก (TriangularRoom) หองที่มีรูปรางลักษณะเปนรูปสามเหลี่ยมมุ มฉากดังรูปที่ ค.2 สูตรที่ใช อัตราสวนโพรง = [ 2.5 h × (A+B+C) ] / [ (A×B)/2 ] 68 รูป ค.2 หองรู ปสามเหลี่ยมมุ มฉาก (Triangular Room) 3. พื้นที่มีรูปรางลักษณะเป นรูปวงกลม (CircularRoom) หองที่มีรูปรางลักษณะเปนรูปวงกลมดังรูปที่ ค.3 สูตรที่ใช อัตราสวนโพรง =[ 2.5 h × 2R ] / R 2 = 5 h / R รูป ค.3 หองรู ปวงกลม (CircularRoom) 69 4. พื้นที่มีรูปรางลักษณะเป นรูปหกเหลี่ยม (HexagonalRoom) หองที่มีรูปรางลักษณะเปนรูปหกเหลี่ยมดังรูปที่ ค.4 สูตรที่ใช อัตราสวนโพรง = [ 2.5 h × 6 L ] / 6[(1/2) × LA] = [ 2.5 h × 6 L ] / 6[(1/2)L 2 × 0.866 ] = 5.77 h / L รูป ค.4 หองรู ปหกเหลี่ยม (HexagonalRoom) 70 ภาคผนวก ง. การสรางตั วอักษรหลอดไฟนีออนดวย Photoshop 7.0 1. เขาโปรแกรม Photoshop 7.0 และสรางไฟลใหมขึ้ นมา 2. ลงสีดําดวย รูปที่ ง.1 หนาต างแสดงภาพ 3. ใชคําสั่ง สรางตัวอักษร โดยทําใหตัวอักษรเปนสีขาว รูปที่ ง.2 ตัวอักษร 4. ทําใหText กลายเปน Layer เพื่อเตรียมตกแตงขั้ นตอไปโดยการเขาคําสั่ง Layer >> Rasterize >> Layer รูปที่ ง.3 คําสั่งเปลี่ยน Text เปน Layer 71 รูปที่ ง.4 Text เปลี่ยนเปน Layer 5. ใชคําสั่ง Select >> Color Range และเลื อกสวนที่เปนสีขาว รูปที่ ง.5 คําสั่ง Color Range รูปที่ ง.6 หนาต าง Color Range รูปที่ ง.7 ผลลั พธจากคําสั่ง ColorRange 72 6. ใชคําสั่ง Select >> Modify >> Contact ปรับคาเปน 1 กด OK แลวกดปุม Delete บนคียบอรดเพื่อลบ พื้นที่สีขาวตรงกลางตัวหนังสือ รูปที่ ง.8 คําสั่ง Contract… รูปที่ ง.9 หนาต างคําสั่ง Contract รูปที่ ง.10 ผลลั พธจากขั้นตอนที่ 6 73 7. CopyLayer ของตัวหนั งสือเพิ่ม โดยการคลิ๊กซายคางและลากไปที่คําสั่ง New Layer รูปที่ ง.11 Copy Layer รูปที่ ง.12 Layer ที่เพิ่มขึ้น 8. ใชคําสั่ง Filter >> Blur >> Gussian Blur แลวปรับคาเป น 3 9. Copy Layer ที่ทําการ Blur เพิ่มอีก 3 Layer จะทําใหสวางมากขึ้น รูปที่ ง.13 เพิ่ม Layer ที่ใชคําสั่ง Blur 74 รูปที่ ง.14 ผลลั พธจากคําสั่ง Blur 10. ตั้งใหภาพเปน Grayscale โดยเลือกที่คําสั่ง Image >> Mode >> Grayscaleโดยใหทําการ Fletten Image ดวย รูปที่ ง.15 คําสั่ง Grayscale รูปที่ ง.16 Fletten Image 11. ตั้งใหภาพกลับมาเปน RGB โดยเลือกที่ คําสั่ง Image >> Mode >> RGB Color 12. ปรับสีของการสองสวางดวยคําสั่ง Image >> Adjustments >> Color Balance… 75 รูปที่ ง.17 คําสั่ง Color Balance รูปที่ ง.18 หนาตาง Color Balance โดยปรับสีของสวนตางๆดังนี้ -Shadows รูปที่ ง.19 Color Levels -Midtones รูปที่ ง.20 Midtones -Highlights รูปที่ ง.21 Highlights 76 จะไดภาพตัวหนังสือดังนี้ รูปที่ ง.22 ภาพเสร็จสิ้น 77 ภาคผนวก จ. คาเฉลี่ยเลขคณิต ( Arithmetic Mean ) ค าเฉลี่ ยเลขคณิ ตจัดว าเป นค าที่ มี ความสํ าคัญมากในวิ ชาสถิ ติเพราะค าเฉลี่ ยเลขคณิ ตเป นค ากลาง หรือเปนตัวแทนของขอมูลที่ดีที่สุดดวยเหตุผล 4 ประการคือ 1. เปนคาที่ไมเอนเอี ยง 2. เปนคาที่มีความคงเสนคงวา 3. เปนคาที่มีความแปรปรวนต่ําที่สุด 4. เปนคาที่มีประสิทธิภาพสูงสุด แต ค าเฉลี่ ยเลขคณิ ตก็ มี ขอจํ ากัดในการใช เช น ถาขอมู ลมี การกระจายมาก หรื อขอมู ลบางตัวมี ค า มากหรื อนอยจนผิ ดปกติหรื อขอมู ลมี การเพิ่ มขึ้นเป นเท าตัวค าเฉลี่ ยเลขคณิ ตจะไม สามารถเป นค ากลาง หรือเปนตัวแทนที่ดีของขอมูลไดการหาคาเฉลี่ยเลขคณิตสามารถหาไดจากสู ตรดังตอไปนี้ เมื่อ = คาเฉลี่ยเลขคณิต X i = คาสังเกตของข อมูลลําดับที่ i n = จํานวนตัวอยางขอมูล 78 ภาคผนวก ฉ. สัมประสิทธิ์ การสะทอนแสงของวัสดุ โดยปกติแลวคาสัมประสิทธิ์การสะทอนแสงของเพดาน ผนัง และพื้น โดยทั่ วไปจะใชค า 70%, 50% และ 20% ตามลํ าดับ โดยเป นการสะทอนแสงของ เพดาน ผนัง และพื้น ในกรณี ที่ มี การใชวัสดุ ชนิ ดอื่ นและ สีอื่นๆทําใหคาสัมประสิทธิ์การสะทอนแสงเปลี่ยนไปซึ่งสงผลตอคาความสองสวางที่ไดตามไปดวย ตารางที่ ฉ.1 สั มประสิทธิ์การสะทอนแสงของวั สดุ สี(%)สีและวัสดุ(%) ขาว70 – 80น้ําเงิน10 – 15 ครีมอ อน70 – 80แดงเขม10 – 15 เหลืองออน55 – 65เทาเขม10 – 15 เขียวออน45 – 50น้ําเงินเข ม5 – 10 ชมพู 45 – 50ดํา4 ฟาออน40 – 45อิฐแดง5 – 25 เทาออน40 – 45คอนกรีต15 – 40 เนื้ออ อน25 – 35สีโอคอ อน15 – 20 เหลืองเขม25 – 35ขาวอีนาเมล65 – 75 น้ําตาลออน25 – 35กระจกใส6 – 8 เขียว25 – 35ไมสีครีม50 – 60 สม20 – 25พลาสเตอร 80 เขียวสม10 – 15วอลนัตเขม15 - 20 79 ภาคผนวก ช. คาความสองสวางที่นิยมใชในสถานที่ ตางๆ ในการออกแบบระบบไฟฟ าแสงสว างนั้นแต ละสถานที่ จะมี การใชงานแตกต างกันไปตั้งแต ชนิ ดของการใชงานผูใชเวลาที่ ใชเพื่ อใหสามารถใชงานสถานที่ นั้นๆไดอย างเต็ มที่ ไม เกิ ดความลา ทางสายตาจนเกิดความรําคาญซึ่ง CIE ไดมีการกําหนดคาระดับความสวางเบื้องตนไวดังตารางตอไปนี้ ตารางที่ ช.1 แสดงระดับความสวางต่ําสุดตามมาตรฐาน CIE ระดับความสว างต่ําสุ ด ลักซ (lux : lx) พื้นที่อาคารทั่ วไป พื้ นที่รอบๆอาคารและทางเดิน บั นไดและบันไดเลื่อน หองรับฝากเสื้อ หมวก และหองน้ํา หองเก็บของ และหองเก็บพัสดุ หองเก็บสินคา โรงงานประกอบชิ้นสวน งานหยาบ : ชิ้นสวนเครื่องจักรใหญ งานปานกลาง : ชิ้นสวนเครื่องยนตชิ้นสวนตัวถัง งานละเอี ยด : อิเล็กทรอนิกสชิ้ นสวนเครื่องจักร งานละเอี ยดมาก : ชิ ้นสวนเครื่องมือวั ด งานเคมี พื้ นที่เครื่ องจักรทั่วไป กระบวนการผลิตอัตโนมัติ หองควบคุมหองปฏิบั ติการ โรงงานเภสัชกรรม งานตรวจสอบ งานเปรียบเทียบสี โรงงานผลิตยางรถยนต 100 150 150 150 300 500 750 1000 300 150 500 500 750 1000 500 ชนิดของงานหรืออาคาร 80 ระดับความสว างต่ําสุ ด ลักซ (lux : lx) โรงงานทําเสื้ อผา งานเย็บผา งานตรวจสอบ งานรีดผ า อุตสาหกรรมไฟฟา โรงงานผลิตสายไฟฟา ชิ้ นสวนประกอบโทรศัพท สวนประกอบขดลวด ชิ้ นสวนเครื่องรับวิทยุโทรทัศน ชิ้ นสวนตองการความเที่ยงตรงสูง อุปกรณอิเล็กทรอนิ กส อุตสาหกรรมอาหาร พื้ นที่ทํางานทั่วไป กระบวนการผลิตอัตโนมัติ งานตบแตงดวยมืองานตรวจสอบ โรงหลอ หลอมุข งานแบบหลอหยาบ งานแบบหลอละเอียดงานตรวจสอบ งานทําแกว หองเตาเผา หองผสม หองทําแบบหลอ การแตงผิวการเคลือบการขัดเงา การใหสี การตกแตง งานเจียระไนเลนสแกวผลึกงานละเอียด 750 1000 500 300 500 750 1000 1500 300 200 500 200 300 500 150 300 500 750 1000 ชนิดของงานหรืออาคาร 81 ระดับความสว างต่ําสุ ด ลักซ (lux : lx) งานเหล็กและโลหะแผน โรงงานผลิตไมตองใชมือชวยทํา โรงงานผลิตใชมือชวยบางครั้ง สถานที่ผลิตงานอยูถาวร ห องควบคุมและตรวจสอบ โรงงานฟอกหนัง พื้นที่ทํางานทั่วไป การรีดตั ดเย็บผลิตรองเทา ปรับระดับควบคุมคุณภาพ โรงงานเครื่องจักรและสวนประกอบ งานไมประจํา งานฝมือและเครื่องจักรหยาบการเชื่ อม งานฝมือและเครื่องจักรปานกลางเครื่องจักรอัตโนมิตทั่วไป งานฝมือและเครื่องจักรละเอียดเครื่องจักรอัติโนมัติ ละเอียด งานตรวจสอบและทดสอบ งานละเอี ยดมากการวัดและตรวจสอบชิ้นสวนขนาดเล็ก หองพนสี การจุมพนหยาบๆ งานสีธรรมดาพนสีแตงผิว งานสีละเอียดพ นสีแตงผิว แตงผิวละเอียดและเปรียบเทียบสี โรงทํากระดาษ งานทําแผนกระดาษ งานสวนกระบวนการอั ตโนมัติ งานตรวจสอบตัด 100 150 300 500 300 750 1000 200 300 500 750 1500 300 500 750 1000 300 200 500 ชนิดของงานหรืออาคาร 82 ระดับความสว างต่ําสุ ด ลักซ (Lux : lx) งานพิมพและทําปกหนังสือ หองเครื่ องพิมพ หองเรียงพิมพอานตรวจสอบ ตรวจความถูกตองการทําแทนแม พิ มพ ถอดแบบสีและการพิมพ สลักตัวหนังสือแผ นเหล็ กและทองแดง การทําปกหนังสือ การปรับแตงพิมพลายนูน อุตสาหกรรมสิ่งทอ การวิดสาดการลากดึ ง การปนด ายการพันการมวนการย อม ป นดายครั้งสุดทายการทําดายการทอ การเย็บผาการตรวจสอบ โรงฝ กงานไม และเครื่องตบแตง โรงเลื่อย งานฝมือและชิ้นสวน การเครื่องจักรในงานไม การแตงผิวตรวจสอบขั้นสุดทาย ที่ทํางาน ที่ทํางานทั่วไปหองคอมพิวเตอร ที่ทํางานสวนตัว หองเขียนแบบงานบั ญชี หองประชุม ที่พักรับรอง โรงเรี ยนหรือมหาวิทยาลัย หองเรียนหองบรรยาย หองปฏิบั ติการหองสมุดหองอานหนังสือหองศิลปะ 500 750 1000 1500 2000 500 750 300 500 750 1000 200 300 500 750 500 750 750 500 300 300 500 ชนิดของงานหรืออาคาร 83 ระดับความสว างต่ําสุ ด ลักซ (lux : lx) หางสรรพสินคาและบริเวณจัดนิทรรศการ รานคาธรรมดา รานคาบริการตัวเอง ซูเปอรมารเก็ต หองแสดงสินคา พิ พิธภัณฑและภาพศิลปะ : สิ่งที่แสดงใหความรูสึกตอแสงสูง สิ่งที่แสดงไมใหความรูสึกตอแสงสูง อาคารสาธารณะ โรงภาพยนต : หองชมภาพยนต หองพัก โรงละครและหองแสดงคอนเสิรต : หองชมการแสดง หองพักตัวแสดง อาคารที่ สักการะ : โบสถ ที่สวดมนต บานและโรงแรม บาน : หองนอน : ทั่วไป ไฟหัวเตียง หองน้ํา : ทั่วไป โกนหนวดแตงหนา หองรับแขก : ทั่วไป อานหนั งสือเย็บผา 300 500 750 500 150 300 50 150 100 200 100 150 50 200 100 500 100 500 ชนิดของงานหรืออาคาร 84 ระดับความสว างต่ําสุ ด ลักซ (lux : lx) บั นได ครัว : ทั่วไป พื้นที่ทํางาน หองทํางาน หองเด็กออน โรงแรม : หองพักรั บแขก หองอาหาร ครัว หองนอนห องน้ํา : ทั่วไป เฉพาะแหง โรงพยาบาล แผนกรักษาโรค : แสงสวางทั่วไป สวนซักถาม ที่ อ านหนังสือ บริ เวณโดยรอบที่มืด ห องตรวจโรค : แสงสวางทั่วไป ตรวจเฉพาะที่ อายุรศาสตรผูปวยหนัก ไฟหัวเตียง สว นสังเกตการณ หองพักพยาบาล 100 300 500 300 150 300 200 500 100 300 100 300 200 5 500 1000 50 750 300 ชนิดของงานหรืออาคาร 85 ระดับความสว างต่ําสุ ด ลักซ (lux : lx) หองผาตั ด : แสงสวางทั่วไป เฉพาะแหง หองชั นสู ตรศพ : แสงสวางทั่วไป เฉพาะแหง หองปฏิบั ติการและหองจายยา : แสงสวางทั่วไป เฉพาะแหง หองพักที่ปรึกษาแพทย : แสงสวางทั่วไป เฉพาะแหง 750 30000 750 10000 500 750 500 750 ชนิดของงานหรืออาคาร 86 ภาคผนวก ซ. ผลการใชตารางสําหรับประเมินคูมือการใชโปรแกรม ออกแบบและคํานวณระบบไฟฟาแสงสวาง DIALux Version 4.4


Comments

Copyright © 2025 UPDOCS Inc.