ศิลปะ ลพบุรี และ เชียงแสน

April 5, 2018 | Author: Anonymous | Category: Education
Report this link


Description

1. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย สมัยลพบุรี : พุทธศตวรรษที่ 16 - 18 (ศิลปะเขมร ที่พบในประเทศไทย (พุทธศตวรรษที่ ๑๒ - ๑๘)สัมพันธภาพระหว่างลักษณะรูปแบบทัศนศ ภายใต้อิทธิพ ศิลปกรรม ขอม 2. • ศิลปะลพบุรี(พุทธศตวรรษที่ 16 - 18) มี อาณาเขตครอบคลุมภาคกลาง ภาคตะวัน ออก และภาคตะวันออกเฉียง เหนือ ตลอดจนใน ประเทศกัมพูชา ซึ่งเป็นของชนชาติขอม แต่เดิม เป็นศิลปะขอม แต่เมื่อชนชาติไทยเข้ามาครอบ ดินแดนแถบนี้ และมีการผสมผสานศิลปะขอมกับ ศิลปะไทย จึงเรียกว่า ศิลปะลพบุรี ลักษณะที่ สำาคัญของพระพุทธรูปแบบ ลพบุรีคือ พระพักตร์ สั้นออกเป็นรูปสี่เหลี่ยม มีพระเนตรโปน พระโอษฐ์แบะกว้าง พระเกตุมาลาทำาเป็นต่อม 3. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย สมัยลพบุรี : พุทธศตวรรษที่ 16 - 18 ทัศนศิลป์ที่มีส่วนคล้ายคลึงกับ ขอม รุ่งเรืองอยู่บริเวณภาคกลาง ภาคตะวันออก และ ภาคตะวันตกเฉียงเหนือ ของประเทศไทย พบทั้งประติมากรรม และ สถาปัตยกรรม ศิลปวัตถุส่วนใหญ่ ทำาจากศิลา และสำาริด 4. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย สมัยลพบุรี : พุทธศตวรรษที่ 16 - 18 ุทธรูปสมัยลพบุรี จะมีลักษณะรูปแบบศิลปะใกล้เคีย แบบนครวัด 5. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย สมัยลพบุรี : พุทธศตวรรษที่ 16 - 18 างพระพุทธรูป แบบนาคปรก ธรูปขนาดใหญ่ จะสลักด้วยหินทราย ล็ก จะหล่อด้วยสำาริด ป์ลพบุรีพบประติมากรรม ศิวะ รายณ์ 6. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย สมัยลพบุรี : พุทธศตวรรษที่ 16 - 18 เทวรูปพระนารายณ์ เทวรูปพระศิวะ 7. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย สมัยลพบุรี : พุทธศตวรรษที่ 16 - 18 ทัศนศิลป์สมัยลพบุรี ปรากฏประติมากรรมภาพเหมือน พระบรมสาทิสลักษณ์ พระชัยวรมันที่ 7 มหาราชองค์สุดท้ายของขอม สลักด้วยศิลา พบที่ปราสาทหินพิมาย โคราช 8. สถาปัตยกรรม • ลพบุรี นั้นนับถือพระพุทธศาสนานิกายมหายาน แบบขอม จึงได้รับอิทธิพลทางศิลปวัฒนธรรม จากขอม ซึ่งมีความก้าวหน้าในการใช้อิฐ หินทราย ศิลาแลงมาก นิยมสร้างเทวาลัยเพื่อ ประดิษฐานรูปเคารพ ลักษณะสำาคัญของรูปแบบ ปราสาทคือมีแผนผังสมมาตร หันหน้าไปทางทิศ ตะวันออก ตัวอย่างงานสถาปัตยกรรม เช่น พระ ปรางค์สามยอด   9. (พระปรางค์สามยอด จ. ลพบุรี)  10. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย สมัยล้านนา : พุทธศตวรรษที่ 17 - 19 11. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย สมัยล้านนา : พุทธศตวรรษที่ 17 - 19 กลางอยู่ทาง ภาคเหนือของไทยรูปแบบทัศนศิลป์บ่ง ชาติ และ วิถีชีวิตของไทยอย่างชัดเจน สร้างพระพุทธรูปด้วย สำาริด แก้ว หินสี 12. ศิลปะล้านนา เกิดขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 16-23 พระพุทธรูปมี 2 รุ่นคือ 1. พระพุทธรูปแบบสิงห์ 1 มีลักษณะคล้ายกับ พระพุทธรูปแบบปาละของอินเดีย คือ รัศมีเป็น รูปดอกบัวตูมหรือลูกแก้ว พระพักตร์กลม อมยิ้ม คางเป็นปม พระองค์อวบอ้วน ส่วนใหญ่ นั่งขัดสมาธิเพชร ปางมารวิชัย ฐานที่รององค์ พระทำาเป็นกลีบบัวประดับ มีทั้งบัวควำ่า บัว หงาย และทำาเป็นฐานเป็นเขียง ไม่มีบัวรองรับ 13. พระพุทธรูปแบบสิงห์ 1 วัดเชียงมั่น จ.เชียงใหม่ 14. พระพุทธสิหิงค์ วัดพระสิงห์ วรมหาวิหาร จ.เชียงใหม่ * พระพักตร์กลม อมยิ้ม คางเป็นปม พระองค์อวบอ้วน 15. พระอิริยาบถประทับขัดสมาธิเพชร ะทับขัดสมาธิเพชร (วัชราสนะ) ได้แก่ ประทับบนพื้น      ไขว้พระชงฆ์หงายฝ่าพระบาทขึ้นทั้งสองข้าง            เป็นพระอิริยาบถของพระพุทธปฏิมาที่สร้างขึ้นทาง      ภาคเหนือของประเทศอินเดีย 16. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย สมัยล้านนา : พุทธศตวรรษที่ 17 - 19 ปเชียงแสนรุ่นแรก : ลักษณะคล้ายพระพุทธรูปแบบปาละ ภาพด้านขวาสุดคือแบบปาละอินเดีย 17. พระพุทธรูปสิงห์ 2 ♥มีอิทธิพลของสุโขทัยเข้ามาปะปน ♥ลักษณะรัศมีเป็นรูปดอกบัวตูมที่สูงขึ้น หรือส่วน ใหญ่เป็นรูปเปลวไฟ พระศกทำาเป็นเส้นละเอียด และมีไรพระศกเป็น เส้นบางๆ พระพักตร์เป็นรูปไข่หรือกลม แม้ พระองค์จะอวบอ้วนตามแบบเดิมแต่ชายจีวรก็ยา ลงมาถึงเท้า (พระนาภี) ชอบทำาประทับนั่งขัด สมาธิราบแลเห็นพระบาทเพียงข้างเดียว ฐาน บางครั้งก็เรียบไม่มีลวดลาย 18. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย สมัยล้านนา : พุทธศตวรรษที่ 17 - 19 รูปแบบสิงห์ 2 : อิทธิพลทัศนศิลป์สุโขทัยเข้ามาปะปน 19. ทัศนศิลป์ในประเทศไทย สมัยล้านนา : พุทธศตวรรษที่ 17 - 19 ธรูปล้านนารุ่นหลัง : ปรากฏพระพุทธรูปทรงเครื่องเล็กน อาจหมายถึง พระอนาคตพระพุท นิยมแก้วและหินสี 20. สถาปัตยกรรม • ส่วนมากเป็นเจดีย์ทรงกลมแบบลังกาแต่มี ฐานสูงย่อมุม เช่น พระธาตุลำาปางหลวง จ.ลำาปาง 21. (พระธาตุลำาปางหลวง)  22. (วัดหริภุญไชย จ. ลำาปาง)  23. หนังสืออ้างอิงเพิ่มเติม • ห้องสมุด • ศิลปะในประเทศไทย ผู้แต่ง ศจ. มจ. สุภัทร ดิศ ดิศกุล • หนังสือประวัติศาสตร์ ศิลปะไทย (ฉบับย่อ) ศ.ดร.สันติ เล็กสุขุม • สารานุกรมไทยสำาหรับเยาวชน • http://kanchanapisek.or.th/kp6/New/sub/ book/book.php?book=29&chap=2&page=t 29-2-l4.htm


Comments

Copyright © 2025 UPDOCS Inc.