คลิก Download บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต part 3

April 6, 2018 | Author: Anonymous | Category: Education
Report this link


Description

1. สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับการดารงชีวิต หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต เนื้อหา จัดทาโดย นางสาวณิชัชฌา อาโยวงษ์ ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 7. การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต 2. การรักษาดุลยภาพของร่างกาย (Homeostasis) หมายถึง กระบวนการรักษาสมดุลของร่างกายให้เหมาะสมกับ สภาพแวดล้อม และ การทางานภายในร่างกาย เพื่อการดารงชีวิตหรือการอยู่รอด 3. การรักษาดุลยภาพของน้าภายในเซลล์ 4. การออกกาลังกาย เหงื่อออก  สูญเสียน้า กระหายน้า 5. ปากใบ (Stroma) 6. http://www.vcharkarn.com/lesson/view.php?id=1047 โพโตมิเตอร์ (potometer) เครื่องมือวัดการคายน้าอย่างง่าย 7. - พืชมีการคายน้า ผ่านทางปากใบ http://www.vcharkarn.com/lesson/view.php?id=1047 การเปิด - ปิดของปากใบ - การเปิด-ปิดของปากใบขึนอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง ความเข้มแสงและความชืน เป็นต้น - ถ้าอัตราการคายน้าเร็วกว่าการดูดน้า ปากใบจะแคบ หรือปิดลงเพื่อรักษาปริมาณน้าในพืชเอาไว้ 8. การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 9. http://4onlinestudy.blogspot.com/2011/10/protists.html Contractile vacuole ขับน้าส่วนเกิน 10. การรักษาดุลยภาพของน้าและแร่ธาตุของปลา การปรับตัวเกี่ยวกับการขับถ่ายและรักษาความสมดุลของน้า ในร่างกายปลา แบ่งได้ 3 พวก คือ 1. ปลาที่ทนต่อความเค็มได้ในช่วงแคบ ได้แก่ ปลาน้าจืด และปลาทะเลทั่วไป 2. ปลาที่อยู่ได้ 2 น้า ได้แก่ ปลาที่ว่ายเข้าน้าจืด (anadromous fish) หมายถึงปลาที่อาศัยอยู่ในทะเล แต่อพยพ ไปวางไข่ในน้าจืด ได้แก่ ปลาแซลมอน และปลาที่ว่ายสู่ทะเล (catadromous fish) หมายถึงปลาที่อาศัยอยู่ในน้าจืดแต่อพยพ ไปวางไข่ในทะเล ได้แก่ ปลาไหล สกุล Anguilla 11. การรักษาดุลยภาพของน้าและแร่ธาตุของปลา การปรับตัวเกี่ยวกับการขับถ่ายและรักษาความสมดุลของน้า ในร่างกายปลา แบ่งได้ 3 พวก คือ 3. ปลาที่ทนต่อความเค็มในช่วงกว้าง (euryhaline) ได้แก่ ปลาน้ากร่อย เช่น ปลากะพงขาว 12. การรักษาดุลยภาพของน้าและแร่ธาตุของ ปลาน้าจืด โกลเมอรูลัสขนาดใหญ่ 13. การรักษาดุลยภาพของน้าและแร่ธาตุของ ปลาน้าเค็ม โกลเมอรูลัสขนาดเล็กหรือไม่มีเลย Hypertonic urine 14. การรักษาดุลยภาพของน้าและแร่ธาตุของ ปลา 2 น้า เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงที่อยู่อาศัย จะมีปัญหาเรื่องการสูญเสียน้าหรือแร่ธาตุ ปลาไหลสกุล Anguilla เมื่อเข้ามาอาศัยในน้าจืดจะสูญเสียเกลือและมีน้า ในตัวมาก ปลาแซลมอนเมื่ออพยพไปอยู่ในทะเลจะสูญเสียน้าและมีเกลือในร่างกายมาก เกินไป ดังนันในช่วงนีจะมีการปรับตัวโดยโกลเมอรูลัส นอกจากนีในปลาแซลมอนจะต้องมีการสร้างเซลล์ขับเกลือคลอไรด์ที่เหงือก ให้เจริญดีก่อนลงสู่ทะเลเพื่อขับเกลือออกทางเหงือกได้ดี 15. การรักษาดุลยภาพของน้าและแร่ธาตุของ นกทะเล Nasal salt gland = ต่อมขับเกลือ หน้าที่ ขับแร่ธาตุส่วนเกินออก 16. ไต (kidney) การรักษาดุลยภาพของน้าและแร่ธาตุของ สัตว์มีกระดูกสันหลัง 17. The left kidney of rabbits, as in other mammals, is located more caudally than the right kidney 18. Fetal Pig Abdomen - Dorsal side, ventral opening (intestines are removed). 19. โครงสร้างภายในของไต เนื้อเยื่อของไต มี 2 ชั้น 1. เนื้อเยื่อไตชั้นนอก (renal cortex) 2. เนื้อเยื่อไตชั้นใน (renal medulla) หน่วยไต (nephron) หน้าที่ กรองน้า แร่ธาตุ และของเสีย 20. การกรองสารและการดูดสารกลับของหน่วยไต การดูดกลับของสาร กระบวนการแอกทีฟทรานสปอร์ต (Active transport) 21. การเปรียบเทียบปริมาณของสารต่างๆ ในน้าเลือด ในของเหลวที่ไต และในปัสสาวะ สาร ในน้าเลือด (g/100cm3) ในของเหลวที่ไต (g/100cm3) ในปัสสาวะ (g/100cm3) น้า โปรตีน ยูเรีย กรดยูริก กลูโคส กรดอะมิโน ไอออนต่างๆ เช่น Na+,Cl 90 8 0.03 0.004 0.1 0.05 0.9 90 0 0.03 0.004 0.1 0.05 0.9 95 0 1.8 0.05 0 0


Comments

Copyright © 2024 UPDOCS Inc.