แผนการจัดการเรียนรู้วิชาการติดตั้งไฟฟ้าในอาคาร.Docx

October 27, 2017 | Author: watchara boollong | Category: Education
Report this link


Description

1. แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา 2104 – 2005 ชื่อวิชา การ ติดตั้งไฟฟ้าในอาคาร หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาไฟฟ้ากาลัง จัดทาโดย นายวัชระ บุญหลง 2. วิทยาลัยการอาชีพบรรพตพิสัย สถาบันอาชีวศึกษาภาคเหนือ 4 คานา แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการติดตั้งไฟฟ้าในอาคาร (รหัสวิชา 2104 – 2005) เล่มนี้ ได้จัดทาขึ้นตรงตามวัตถุประสงค์ของรายวิชา และ มีเนื้อหาครอบคลุมตามคาอธิบายรายวิชาที่กาหนดไว้ในหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 โดยประกอบด้วยแผนการ เรียนรู้ 10 แผนการเรียนรู้ ใช้เวลาการเรียนการสอน จานวนทั้งสิ้น 90 ชั่วโมง ซึ่งเป็นไปตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2556 ของสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าแผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้จะเป็น ประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอนของครู ผู้เรียน และผู้ที่สนใจ และ หากมีข้อเสนอแนะประการใด ผู้จัดทายินดีน้อมรับ และจักเป็นพระคุณยิ่ง นายวัชระ บุญหลง ครูชานาญการ 3. สารบัญ แผนการเรียนรู ้ หน้า คานา ก สารบัญ ข ลักษณะรายวิชา 2 รายการสอน 3 ตารางวิเคราะห์หลักสูตร 4 กาหนดการสอน 6 กรอบแนวทางการจัดการเรียนรู้และการประเมินผลตามสภาพจริงประจา หน่วยการเรียนรู้ 12 4. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความปลอดภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานไฟฟ้า 21 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ระบบการผลิต การส่งและจาหน่ายไฟฟ้า 29 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์เกี่ยวกับงานติดตั้ง ไฟฟ้า 38 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 สายไฟฟ้าและการต่อสายไฟฟ้า 46 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 อุปกรณ์ป้องกันในงานติดตั้งไฟฟ้า 54 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 ไฟฟ้าแสงสว่างและไฟฟ้ากาลัง 62 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การเดินสายไฟฟ้าด้วยเข็มขัดรัดสาย 70 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 การเดินไฟฟ้าด้วยท่อร้อยสาย 79 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 การต่อสายดิน 88 5. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 การตรวจสอบข้อบกพร่องของระบบไฟฟ้าและ อุปกรณ์ป้องกัน 96 รายการตรวจสอบและอนุญาตให้ใช้ 105 ส่วนที่ 1 การวิเคราะห์รายวิชา 6. ลักษณะรายวิชา รหัสวิชา 2104 – 2005 ชื่อวิชา การติดตั้ง ไฟฟ้าในอาคาร ท – ป – น 2 – 3 - 3 เวลาเรียนต่อภาค 90 ชั่วโมง จุดประสงค์รายวิชา 1. รู้ เข้าใจหลักการป้องกันอุบัติภัยที่เกิดขึ้นกับการปฏิบัติงานทาง ไฟฟ้า 2. มีทักษะในการเดินสายไฟฟ้า การใช้เครื่องมือและอุปกรณ์การ ติดตั้งไฟฟ้าภายในอาคาร 7. 3. มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ มีกิจนิสัยในการค้นคว้าเพิ่มเติม และการ ทางานด้วยความรอบคอบและปลอดภัย สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับการติดตั้งไฟฟ้าในอาคาร 2. เลือกวัสดุอุปกรณ์ในงานเดินสายไฟฟ้าแสงสว่างและไฟฟ้ากาลัง 3. ติดตั้งเดินสายไฟฟ้าแสงสว่างและไฟฟ้ากาลัง 4. ตรวจสอบและแก้ไขข้อบกพร่องของระบบและอุปกรณ์ป้องกัน คาอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติวิธีป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า ระบบการจ่ายกาลังไฟฟ้า ชนิด และการใช้งานของสายไฟฟ้า การต่อ สายไฟฟ้าแบบต่าง ๆ การเดินสายไฟฟ้าแสงสว่างและไฟฟ้ากาลัง เครื่องมือและอุปกรณ์ทางไฟฟ้าแบบต่าง ๆ การติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันทาง ไฟฟ้า การติดตั้งอุปกรณ์ป้องกัน การเดินสายไฟฟ้าด้วยวิธีการต่าง ๆ การ ตรวจสอบและแก้ไขข้อบกพร่องของระบบและอุปกรณ์ป้องกัน รายการสอน ที่ รายการสอน เวลาเรียน (ชม.) 8. ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1 ความปลอดภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน ไฟฟ้า 2 3 5 2 ระบบการผลิต การส่งและจาหน่าย ไฟฟ้า 2 3 5 3 เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์เกี่ยวกับงาน ติดตั้งไฟฟ้า 2 3 5 4 สายไฟฟ้าและการต่อสายไฟฟ้า 2 3 5 5 อุปกรณ์ป้องกันในงานติดตั้งไฟฟ้า 2 3 5 6 การเดินสายไฟฟ้าด้วยเข็มขัดรัดสาย 6 9 15 7 ไฟฟ้าแสงสว่างและไฟฟ้ากาลัง 6 9 15 8 การเดินไฟฟ้าด้วยท่อร้อยสาย 8 12 20 9 การต่อลงดิน 2 3 5 10 การตรวจสอบข้อบกพร่องของระบบ ไฟฟ้าและอุปกรณ์ป้องกัน 2 3 5 สอบปลายภาค 2 3 5 รวม 36 54 90 9. ตารางวิเคราะห์หลักสูตร รหัสวิชา 2104 – 2005 ชื่อวิชา การติดตั้งไฟฟ้าในอาคาร ท – ป – น 2 – 3 – 3 เวลาเรียน ต่อภาค 90 ชั่วโมง พฤติกรรม ชื่อหน่วย พุทธิพิสัย ทักษะพิสัย จิตพิสัย รวม ลาดับความสาคัญ จานวนคาบ ความรู้ ความเข้าใจ นาไปใช้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า 1.ความปลอดภัยเกี่ยวกับ การปฏิบัติงานไฟฟ้า 2 2 2 1 7 7 5 2. ระบบการผลิต การส่ง และจาหน่ายไฟฟ้า 2 1 1 1 5 8 5 3.เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ เกี่ยวกับงานติดตั้งไฟฟ้า 2 1 1 1 5 9 5 4. สายไฟฟ้าและการต่อ สายไฟฟ้า 1 3 5 2 11 4 5 10. ตารางวิเคราะห์หลักสูตร รหัสวิชา 2104 – 2005 ชื่อวิชา การติดตั้งไฟฟ้าในอาคาร ท – ป – น 2 – 3 – 3 เวลาเรียน ต่อภาค 90 ชั่วโมง 5. อุปกรณ์ป้องกันในงาน ติดตั้งไฟฟ้า 1 3 5 1 10 6 5 6. การเดินสายไฟฟ้าด้วย เข็มขัดรัดสาย 2 3 5 3 13 2 1 5 7. ไฟฟ้าแสงสว่างและ ไฟฟ้ากาลัง 2 3 5 3 13 3 1 5 8. การเดินไฟฟ้าด้วยท่อ ร้อยสาย 2 3 1 0 4 20 1 2 0 9. การต่อลงดิน 2 1 1 1 5 1 0 5 พฤติกรรม ชื่อหน่วย พุทธิพิสัย ทักษะพิสัย จิตพิสัย รวม ลาดับความสาคัญ จานวนคาบ ความรู้ ความเข้าใจ นาไปใช้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า 11. หมายเหตุ สาคัญมาก 8 - 10 สาคัญปานกลาง 5 - 7 สาคัญน้อย 1- 4 สูตรที่ใช้ในการคานวณ จานวนชั่วโมง = TW TPW  W = น้าหนักรวมในแต่ละหน่วย TP = จานวนคาบทั้งหมด TW = น้าหนักรวม 10. การตรวจสอบ ข้อบกพร่องของระบบ ไฟฟ้าและอุปกรณ์ป้องกัน 2 2 5 2 11 5 5 รวม 18 2 20 40 20 100 ลาดับความสาคัญ 4 5 2 1 3 12. กาหนดการสอน ชื่อหน่วยการเรียนรู้/ รายการสอน สมรรถนะประจาหน่วย เกณฑ์การปฏิบัติงาน สัปดาห์ ที่ ชั่วโมง ที่ 1.ความปลอดภัย เกี่ยวกับการ 1.แสดงความรู้เกี่ยวกับอันตรายเกี่ยวกับ งานไฟฟ้า 1. บอกอันตรายเกี่ยวกับ ไฟฟ้า 1 5 ปฏิบัติงานไฟฟ้า 2. แสดงความรู้เกี่ยวกับการป้องกัน อันตรายจากไฟฟ้า 2. บอกวิธีการป้องกัน อันตรายจาก 3. แสดงความรู้เกี่ยวกับการช่วยเหลือ และปฐมพยาบาล ไฟฟ้า ผู้ประสบภัยทางไฟฟ้า 3. บอกวิธีการช่วยเหลือ และ ปฐมพยาบาล ผู้ประสบภัยทางไฟฟ้า 4. ปฏิบัติการช่วยเหลือ และ ปฐมพยาบาลผู้ประสบ ไฟทางไฟฟ้า 2. ระบบการผลิต การ ส่ง และ 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับระบบ กาลังไฟฟ้า 1. อธิบายระบบ กาลังไฟฟ้า 2 5 13. จาหน่ายไฟฟ้า 2. แสดงความรู้เกี่ยวกับการส่งจ่าย กาลังไฟฟ้าในประเทศไทย 2. อธิบายระบบการส่ง จ่ายกาลัง 3. แสดงความรู้เกี่ยวกับการจ่าย กาลังไฟฟ้าให้กับผู้ใช้ไฟฟ้า ไฟฟ้าในประเทศไทย 3. อธิบายการจ่าย กาลังไฟฟ้าให้กับ ผู้ใช้ไฟฟ้า 3. เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์เกี่ยวกับ 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือสาหรับ งานติดตั้งไฟฟ้า 1. บอกชื่อและอธิบาย วิธีการใช้งาน 3 5 งานติดตั้งไฟฟ้า 2. แสดงความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือวัดและ ทดสอบในงานติดตั้ง ของเครื่องมือสาหรับ งานติดตั้งไฟฟ้า 3. แสดงความรู้เกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์ที่ ใช้ในงานติดตั้งไฟฟ้า 2. บอกชื่อและอธิบาย วิธีการใช้งาน เครื่องวัดและทดสอบใน งานติดตั้ง 3. บอกชื่อและอธิบาย วิธีการใช้งาน ของวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ ในงานติดตั้ง กาหนดการสอน ชื่อหน่วยการเรียนรู้/ สมรรถนะประจาหน่วย เกณฑ์การปฏิบัติงาน สัปดาห์ ชั่วโมง 14. รายการสอน ที่ ที่ 4. สายไฟฟ้าและการ ต่อสายไฟฟ้า 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับส่วนประกอบ ของสายไฟฟ้า 1. บอกส่วนประกอบ ของสายไฟฟ้า 4 5 2. แสดงความรู้เกี่ยวกับสายไฟฟ้า แรงดันต่า 2. บอกชนิดของ สายไฟฟ้าแรงดันต่า 3. แสดงความรู้เกี่ยวกับรหัสสีของ สายไฟ 3. บอกบอกรหัสสีของ สายไฟฟ้า 4. แสดงความรู้เกี่ยวกับข้อพิจารณา การเลือกใช้สายไฟฟ้า 4. บอกข้อพิจารณา เลือกสายไฟฟ้า 5. แสดงความรู้เกี่ยวกับการต่อ สายไฟฟ้า 5. อธิบายวิธีการต่อ สายไฟฟ้า 6. ปฏิบัติการต่อ สายไฟฟ้า 5. อุปกรณ์ป้องกันใน งานติดตั้ง 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับฟิวส์ 1. บอกชนิดและ ลักษณะของฟิวส์ 5 5 ไฟฟ้า 2. แสดงความรู้เกี่ยวกับเซอร์กิตเบรก เกอร์ 2. บอกความหมายและ อธิบายวิธี 3. แสดงความรู้เกี่ยวกับคอนซูมเมอร์ยู นิต การทางานของเซอร์กิต เบรกเกอร์ 4. แสดงความรู้เกี่ยวกับโหลดเซนเตอร์ 3. บอกลักษณะและการ นา 15. 5. แสดงความรู้เกี่ยวกับสวิตซ์บอร์ด คอนซูมเมอร์ไปใช้งาน 4. บอกชนิดและกานา โหลดเซนเตอร์ ไปใช้งาน 5. บอกส่วนประกอบ และการนา สวิตซ์บอร์ดไปใช้งาน 6. การเดินสายไฟฟ้า ด้วยเข็มขัด 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับการเดิน สายไฟฟ้าด้วยเข็มขัดรัดสาย 1. อธิบายหลักการ ปฏิบัติในการเดิน 6 - 8 15 รัดสาย 2. แสดงความรู้เกี่ยวกับข้อควรปฏิบัติ ในการเดินสายไฟฟ้า สายไฟฟ้าด้วยเข็มขัด รัดสาย และการติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้า 2. บอกข้อควรปฏิบัติใน การเดินสาย ไฟฟ้าและติดตั้งอุปกรณ์ ไฟฟ้า กาหนดการสอน ชื่อหน่วยการเรียนรู้/ รายการสอน สมรรถนะประจาหน่วย เกณฑ์การปฏิบัติงาน สัปดาห์ ที่ ชั่วโมง ที่ 3. ปฏิบัติการเดิน สายไฟฟ้าด้วย เข็มขัดรัดสายไฟฟ้า 16. 7. ไฟฟ้าแสงสว่างและ ไฟฟ้ากาลัง 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับประเภทของ หลอดไฟ 1. บอกประเภทของ หลอดไฟฟ้าชนิด 9 - 11 15 2. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลอดไส้ ต่าง ๆ 3. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลอดฟลูออ เรสเซนต์ 2. อธิบายหลักการ ทางานของหลอด 4. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลอดดิสชาร์ท ความเข้มแสงสูง ไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ 5. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลอดแอลอีดี 3. บอกข้อดีข้อเสียของ หลอดไฟฟ้า 6. แสดงความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานการ ติดตั้งโคมไฟฟ้าและ ชนิดต่าง ๆ เครื่องประกอบการติดตั้ง 4. อธิบายมาตรฐานการ ติดตั้งโคม 7. แสดงความรู้เกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า กาลัง ไฟฟ้าและเครื่อง ประกอบการติดตั้ง 5. บอกข้อกาหนด เกี่ยวกับการติดตั้ง เต้ารับ 6. ปฏิบัติการต่อวงจร หลอดไฟฟ้า 17. พร้อมอุปกรณ์ประกอบ วงจร 7. ปฏิบัติการต่อวงจร กาลัง 18. กาหนดการสอน ชื่อหน่วยการเรียนรู้/ รายการสอน สมรรถนะประจาหน่วย เกณฑ์การปฏิบัติงาน สัปดาห์ ที่ ชั่วโมง ที่ 8. การเดินสายไฟฟ้า ด้วยท่อร้อย 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับท่อโลหะและ อุปกรณ์ประกอบท่อ 1. บอกเครื่องมือสาหรับ งานเดินสาย 12 - 15 20 สาย โลหะ ด้วยท่อโลหะ 2. แสดงความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือ สาหรับงานเดินสายร้อย 2. บอกชนิดของท่อโลหะ และอุปกรณ์ ท่อโลหะ ประกอบท่อโลหะ 3. แสดงความรู้เกี่ยวกับข้อกาหนดใน การเดินสายไฟฟ้า 3. บอกข้อกาหนดในการ เดินสายไฟฟ้า 4. แสดงความรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของ การใช้ท่อร้อยสาย 4. บอกประโยชน์ของ การเดินท่อร้อย 5. แสดงความรู้เกี่ยวกับการดัดท่อ โลหะบาง สายไฟฟ้า 6. แสดงความรู้เกี่ยวกับการตัดท่อ อโลหะ 5. อธิบายวิธีการใช้เบน เดอร์ดัดท่อ โลหะ 6. บอกชนิดของท่อพีวีซี และอุปกรณ์ ประกอบ 19. 7. บอกเครื่องมือสาหรับ งานดัดท่อ พีวีซี 8. ปฏิบัติการดัดท่อโลหะ แบบต่าง ๆ 9. ปฏิบัติการดัดท่อ อโลหะ 9. การต่อลงดิน 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับการต่อลงดิน 1. บอกจุดประสงค์ของ การต่อลงดิน 16 5 2. แสดงความรู้เกี่ยวกับการต่อลงดิน ของระบบไฟฟ้า 2. อธิบายการต่อลงดิน ของระบบไฟฟ้า 3. แสดงความรู้เกี่ยวกับการต่อลงดิน ของอุปกรณ์ไฟฟ้า 3. อธิบายการต่อลงดิน ของอุปกรณ์ 4. แสดงความรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของ การต่อลงดิน ไฟฟ้า กาหนดการสอน ชื่อหน่วยการเรียนรู้/ รายการสอน สมรรถนะประจาหน่วย เกณฑ์การปฏิบัติงาน สัปดาห์ ที่ ชั่วโมง ที่ 5. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักดิน 4. บอกประโยชน์ของ การต่อลงดิน 6. แสดงความรู้เกี่ยวกับการลดค่าความ 5. บอกประเภทของ 20. ต้านทานของการ หลักดิน ต่อลงดิน 6. อธิบายวิธีการลดค่า ความต้าน ทานของการต่อลงดิน 10. การตรวจสอบและ แก้ไขข้อ 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับการตรวจสออบ การติดตั้งระบบไฟฟ้า 1. อธิบายวิธีการ ตรวจสอบการ 17 5 บกพร่องของระบบและ อุปกรณ์ 2. แสดงความรู้เกี่ยวกับการตรวจ อุปกรณ์ไฟฟ้า ติดตั้งไฟฟ้า ป้องกัน 3. แสดงความรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบ อุปกรณ์ป้องกัน 2. อธิบายวิธีการ ตรวจสอบอุปกรณ์ 4. แสดงความรู้เกี่ยวกับความถี่ในการ ตรวจสอบระบบไฟฟ้า ไฟฟ้า 3. อธิบายวิธีการ ตรวจสอบอุปกรณ์ ป้องกัน 4. บอกความถี่ที่ใช้ การตรวจสอบ ระบบไฟฟ้า สอบปลายภาค 18 5 รวม 18 90 21. สัปดาห์ ชั่วโมง 22. ส่วนที่ 2 แผนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการ 23. และการประเมินตาม สภาพจริง รายหน่วยการเรียนรู้ 24. กรอบแนวทางการจัดการเรียนรู้และการประเมินผลตามสภาพจริงประจาหน่วยการ เรียนรู้ หน่วย ที่ รายการสอน สมรรถนะ เกณฑ์การ ปฏิบัติงาน แนวทางการประเมิน ทดสอบความรู้ ประเมินการ ปฏิบัติงาน ประเมินผลงาน ประเมิน พฤติกรรม อื่นๆ 1 1.ความปลอดภัยเกี่ยวกับการ ปฏิบัติงานไฟฟ้า 1.แสดงความรู้ เกี่ยวกับอันตราย เกี่ยวกับงานไฟฟ้า 1. บอกอันตราย เกี่ยวกับไฟฟ้า    2. แสดงความรู้ เกี่ยวกับการป้องกัน อันตรายจากไฟฟ้า 2. บอกวิธีการ ป้องกันอันตราย จากไฟฟ้า 3. แสดงความรู้ เกี่ยวกับการ ช่วยเหลือและปฐม พยาบาล 3. บอกวิธีการ ช่วยเหลือและ ปฐมพยาบาล ผู้ประสบภัยทาง ไฟฟ้า 25. ผู้ประสบภัยทางไฟฟ้า 4. ปฏิบัติการ ช่วยเหลือและ ปฐมพยาบาลผู้ ประสบไฟทาง ไฟฟ้าปฐม พยาบาลผู้ประสบ ไฟทางไฟฟ้า กรอบแนวทางการจัดการเรียนรู้และการประเมินผลตามสภาพจริงประจาหน่วยการ เรียนรู้ หน่วย ที่ รายการสอน สมรรถนะ เกณฑ์การ ปฏิบัติงาน แนวทางการประเมิน ทดสอบความรู้ ประเมินการ ปฏิบัติงาน ประเมินผลงาน ประเมิน พฤติกรรม อื่นๆ 26. 2 ระบบการผลิต การส่ง และ จาหน่ายไฟฟ้า 1. แสดงความรู้ เกี่ยวกับระบบ กาลังไฟฟ้า 1. อธิบายระบบ กาลังไฟฟ้า    2. แสดงความรู้ เกี่ยวกับการส่งจ่าย กาลังไฟฟ้าใน ประเทศไทย 2. อธิบายระบบ การส่งจ่าย กาลังไฟฟ้าใน ประเทศไทย 3. แสดงความรู้ เกี่ยวกับการจ่าย กาลังไฟฟ้าให้กับ ผู้ใช้ไฟฟ้า 3. อธิบายการจ่าย กาลังไฟฟ้าให้กับ ผู้ใช้ไฟฟ้า 3 เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ เกี่ยวกับงานติดตั้งไฟฟ้า 1. แสดงความรู้ เกี่ยวกับเครื่องมือ สาหรับงานติดตั้ง ไฟฟ้า 1. บอกชื่อและ อธิบายวิธีการใช้ งานของเครื่องมือ สาหรับงานติดตั้ง ไฟฟ้า    2. แสดงความรู้ เกี่ยวกับเครื่องมือวัด และทดสอบในงาน ติดตั้ง 2. บอกชื่อและ อธิบายวิธีการใช้ งานเครื่องวัดและ ทดสอบในงาน ติดตั้ง 27. กรอบแนวทางการจัดการเรียนรู้และการประเมินผลตามสภาพจริงประจาหน่วยการ เรียนรู้ หน่วย ที่ รายการสอน สมรรถนะ เกณฑ์การ ปฏิบัติงาน แนวทางการประเมิน ทดสอบความรู้ ประเมินการ ปฏิบัติงาน ประเมินผลงาน ประเมิน พฤติกรรม อื่นๆ 3. แสดงความรู้ เกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์ ที่ใช้ในงานติดตั้ง ไฟฟ้า 3. บอกชื่อและ อธิบายวิธีการใช้ งานของวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ใน งานติดตั้ง 4 สายไฟฟ้าและการต่อ สายไฟฟ้า 1. แสดงความรู้ เกี่ยวกับส่วนประกอบ ของสายไฟฟ้า 1. บอก ส่วนประกอบของ สายไฟฟ้า     2. แสดงความรู้ เกี่ยวกับสายไฟฟ้า แรงดันต่า 2. บอกชนิดของ สายไฟฟ้าแรงดัน ต่า 28. 3. แสดงความรู้ เกี่ยวกับรหัสสีของ สายไฟ 3. บอกบอกรหัส สีของสายไฟฟ้า 4. แสดงความรู้ เกี่ยวกับข้อพิจารณา การเลือกใช้ สายไฟฟ้า 4. บอก ข้อพิจารณา เลือกสายไฟฟ้า 5. แสดงความรู้ เกี่ยวกับการต่อ สายไฟฟ้า 5. อธิบายวิธีการ ต่อสายไฟฟ้า กรอบแนวทางการจัดการเรียนรู้และการประเมินผลตามสภาพจริงประจาหน่วยการ เรียนรู้ หน่วย ที่ รายการสอน สมรรถนะ เกณฑ์การ ปฏิบัติงาน แนวทางการประเมิน ทดสอบความรู้ ประเมินการ ปฏิบัติงาน ประเมินผลงาน ประเมิน พฤติกรรม อื่นๆ 6. ปฏิบัติการต่อ 29. สายไฟฟ้า 5 อุปกรณ์ป้องกันในงาน ติดตั้งไฟฟ้า 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับฟิวส์ 1. บอกชนิดและ ลักษณะของฟิวส์     2. แสดงความรู้เกี่ยวกับ เซอร์กิตเบรกเกอร์ 2. บอก ความหมายและ อธิบายวิธี 3. แสดงความรู้เกี่ยวกับคอน ซูมเมอร์ยูนิต การทางานของ เซอร์กิตเบรก เกอร์ 4. แสดงความรู้เกี่ยวกับ โหลดเซนเตอร์ 3. บอกลักษณะ และการนาคอม ซูมเมอร์ไปใช้ งาน 5. แสดงความรู้เกี่ยวกับ สวิตซ์บอร์ด 4. บอกชนิดและ กานาโหลดเซน เตอร์ไปใช้งาน กรอบแนวทางการจัดการเรียนรู้และการประเมินผลตามสภาพจริงประจาหน่วยการ เรียนรู้ หน่วย รายการสอน สมรรถนะ เกณฑ์การ แนวทางการประเมิน 30. ที่ ปฏิบัติงาน ทดสอบความรู้ ประเมินการ ปฏิบัติงาน ประเมินผลงาน ประเมิน พฤติกรรม อื่นๆ 5. บอก ส่วนประกอบและ การนาสวิตซ์บอร์ด ไปใช้งาน 6 การเดินสายไฟฟ้าด้วย เข็มขัดรัดสาย 1. แสดงความรู้ เกี่ยวกับการเดิน สายไฟฟ้าด้วยเข็มขัด รัดสาย 1. อธิบายหลักการ ปฏิบัติในการเดิน สายไฟฟ้าด้วยเข็ม ขัดรัดสาย     2. แสดงความรู้ เกี่ยวกับข้อควรปฏิบัติ ในการเดินสายไฟฟ้า และการติดตั้งอุปกรณ์ ไฟฟ้า 2. บอกข้อควร ปฏิบัติในการเดิน สายไฟฟ้าและ อุปกรณ์ไฟฟ้า 3. ปฏิบัติการเดิน สายไฟฟ้าด้วยเข็ม 31. ขัดรัดสายไฟฟ้า 7 ไฟฟ้าแสงสว่างและไฟฟ้า กาลัง 1. แสดงความรู้ เกี่ยวกับประเภทของ หลอดไฟ 1. บอกประเภทของ หลอดไฟฟ้าชนิด ต่าง ๆ     กรอบแนวทางการจัดการเรียนรู้และการประเมินผลตามสภาพจริงประจาหน่วยการ เรียนรู้ หน่วย ที่ รายการสอน สมรรถนะ เกณฑ์การ ปฏิบัติงาน แนวทางการประเมิน ทดสอบความรู้ ประเมินการ ปฏิบัติงาน ประเมินผลงาน ประเมิน พฤติกรรม อื่นๆ 2. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลอด ไส้ 2. อธิบายหลักการ ทางานของหลอด ไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ 3. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลอด ฟลูออเรสเซนต์ 3. บอกข้อดีข้อเสีย ของหลอดไฟฟ้า ชนิดต่าง ๆ 32. 4. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลอด ดิสชาร์ทความเข้มแสงสูง 4. อธิบาย มาตรฐานการ ติดตั้งโคมไฟฟ้า และเครื่อง ประกอบการติดตั้ง 5. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลอด แอลอีดี 5. บอกข้อกาหนด เกี่ยวกับการติดตั้ง เต้ารับ 6. แสดงความรู้เกี่ยวกับ มาตรฐานการติดตั้งโคม ไฟฟ้าและเครื่องประกอบการ ติดตั้ง 6. ปฏิบัติการต่อ วงจรหลอดไฟฟ้า พร้อมอุปกรณ์ ประกอบ 7. แสดงความรู้เกี่ยวกับ วงจรไฟฟ้ากาลัง 7. ปฏิบัติการต่อ วงจรกาลัง กรอบแนวทางการจัดการเรียนรู้และการประเมินผลตามสภาพจริงประจาหน่วยการ เรียนรู้ หน่วย รายการสอน สมรรถนะ เกณฑ์การ แนวทางการประเมิน 33. ที่ ปฏิบัติงาน ทดสอบความรู้ ประเมินการ ปฏิบัติงาน ประเมินผลงาน ประเมิน พฤติกรรม อื่นๆ 8 การเดินสายไฟฟ้าด้วย ท่อร้อยสาย 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับ ท่อโลหะและอุปกรณ์ ประกอบท่อโลหะ 1. บอกเครื่องมือ สาหรับงานเดินสาย ด้วยท่อโลหะ     2. แสดงความรู้เกี่ยวกับ เครื่องมือสาหรับงาน เดินสายร้อยท่อโลหะ 2. บอกชนิดของท่อ โลหะและอุปกรณ์ ประกอบท่อโลหะ 3. แสดงความรู้เกี่ยวกับ ข้อกาหนดในการเดิน สายไฟฟ้า 3. บอกข้อกาหนด ในการเดิน สายไฟฟ้า 4. แสดงความรู้เกี่ยวกับ ประโยชน์ของการใช้ท่อ ร้อยสาย 4. บอกประโยชน์ ของการเดินท่อร้อย สายไฟฟ้า 5. แสดงความรู้เกี่ยวกับ การดัดท่อโลหะบาง 5. อธิบาย วิธีการใช้เบนเดอร์ ดัดท่อโลหะ 34. 6. แสดงความรู้เกี่ยวกับ การตัดท่ออโลหะ 6. บอกชนิดของ ท่อพีวีซีและ อุปกรณ์ประกอบ กรอบแนวทางการจัดการเรียนรู้และการประเมินผลตามสภาพจริงประจาหน่วยการ เรียนรู้ หน่วย ที่ รายการสอน สมรรถนะ เกณฑ์การ ปฏิบัติงาน แนวทางการประเมิน ทดสอบความรู้ ประเมินการ ปฏิบัติงาน ประเมินผลงาน ประเมิน พฤติกรรม อื่นๆ 7. บอกเครื่องมือ สาหรับงานดัด ท่อพีวีซี 8. ปฏิบัติการดัดท่อ โลหะแบบต่าง ๆ 9. ปฏิบัติการดัดท่อ อโลหะ 35. 9 การต่อลงดิน 1. แสดงความรู้ เกี่ยวกับการต่อลง ดิน 1. บอกจุดประสงค์ ของการต่อลงดิน     2. แสดงความรู้ เกี่ยวกับการต่อลง ดินของระบบไฟฟ้า 2. อธิบายการต่อลง ดินของระบบไฟฟ้า 3. แสดงความรู้ เกี่ยวกับการต่อลง ดินของอุปกรณ์ ไฟฟ้า 3. อธิบายการต่อลง ดินของอุปกรณ์ ไฟฟ้า 4. แสดงความรู้ เกี่ยวกับประโยชน์ ของการต่อลงดิน 4. บอกประโยชน์ ของการต่อลงดิน กรอบแนวทางการจัดการเรียนรู้และการประเมินผลตามสภาพจริงประจาหน่วยการ เรียนรู้ หน่วย รายการสอน สมรรถนะ เกณฑ์การ แนวทางการประเมิน 36. ที่ ปฏิบัติงาน ทดสอบความรู้ ประเมินการ ปฏิบัติงาน ประเมินผลงาน ประเมิน พฤติกรรม อื่นๆ 5. แสดงความรู้ เกี่ยวกับหลักดิน 5. บอกประเภท ของหลักดิน 6. แสดงความรู้ เกี่ยวกับการลดค่า ความต้านทานของ การ 6. อธิบายวิธีการ ลดค่าความ ต้านทานของการ ต่อลงดิน 10 การตรวจสอบและแก้ไข ข้อบกพร่องของระบบและ อุปกรณ์ป้องกัน 1. แสดงความรู้ เกี่ยวกับการตรวจสอ อบการติดตั้งระบบ ไฟฟ้า 1. อธิบายวิธีการ ตรวจสอบการ ติดตั้งไฟฟ้า    2. แสดงความรู้ เกี่ยวกับการตรวจ อุปกรณ์ไฟฟ้า 2. อธิบายวิธีการ ตรวจสอบ อุปกรณ์ไฟฟ้า 37. 3. แสดงความรู้ เกี่ยวกับการ ตรวจสอบอุปกรณ์ ป้องกัน 3. อธิบายวิธีการ ตรวจสอบ อุปกรณ์ป้องกัน 4. แสดงความรู้ เกี่ยวกับความถี่ใน การตรวจสอบระบบ ไฟฟ้า 4. บอกความถี่ที่ ใช้การตรวจสอบ ระบบไฟฟ้า 38. 1. แนวคิด ไฟฟ้าแม้จะมีประโยชน์มากมาย แต่ก็มีโทษมหันต์แก่ผู้ใช้ไฟฟ้าด้วย เช่นกัน ถ้าเราใช้ไฟฟ้าไม่ถูกต้องและการทางานด้วยความประมาท อันตรายของไฟฟ้าอาจทาให้เกิดความสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สินและ เกิดเพลิงไหม้ได้ ดังนั้น ผู้ที่ใช้ไฟฟ้าจะต้องใช้ไฟฟ้าด้วยความ ระมัดระวังและใช้ไฟฟ้าให้ถูกต้อง โดยเฉพาะผู้ปฏิบัติเกี่ยวกับไฟฟ้าต้อง รู้กฎแห่งความปลอดภัย เพื่อที่จะนาประโยชน์ของไฟฟ้าไปใช้งานและ หลีกเลี่ยงอุบัติภัยที่อาจจะเกิดขึ้นได้ การศึกษาและเข้าใจวิธีการป้องกันอันตรายที่เกิดขึ้นจากไฟฟ้าก็ สาคัญ วิธีการช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากไฟฟ้าและการปฐมพยาบาล เบื้องต้นแก้ผู้ประสบภัยก็ช่วยลดการสูญเสียแก่ชีวิตที่อาจเกิดขึ้นได้ด้วย เช่นเดียวกัน 2. สาระการเรียนรู้ 2.1 อันตรายที่เกิดจากไฟฟ้า 2.2 องค์ประกอบสาคัญที่ทาให้เกิดอันตรายจากไฟฟ้า 2.3 การป้องกันอันตรายที่เกิดจากไฟฟ้า 2.4 การช่วยเหลือและปฐมพยาบาลผู้ประสบภัยทางไฟฟ้า 3. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 3.1 บอกอันตรายที่เกิดจากไฟฟ้าได้ แผนการเรียนรู้ที่ 1 หน่วยที่ 1 จานวน 5 ชั่วโมง สัปดาห์ที่ 1 ชื่อวิชา การติดตั้งไฟฟ้าในอาคาร รหัสวิชา 2104 - 2005 ชื่อหน่วย ความปลอดภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานไฟฟ้า 39. 3.2 บอกองค์ประกอบสาคัญที่ทาให้เกิดอันตรายจากไฟฟ้าได้ 3.3 บอกวิธีการป้องกันอันตรายที่เกิดจากไฟฟ้าได้ 3.4 อธิบายวิธีการช่วยเหลือและปฐมพยาบาลผู้ประสบภัยทางไฟฟ้าได้ 3.5 มีการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ที่ครูสามารถสังเกตเห็นได้ในด้านการมีมนุษยสัมพันธ์ ความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความเชื่อมั่นในตนเอง ความสนใจใฝ่รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที 4. การบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักความพอประมาณ 1) ผู้เรียนมีความตระหนักและให้ความสาคัญ ต่อความปลอดภัยใน การปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า 2) คานึงถึงศักยภาพของตนเอง หลักความมีเหตุผล 1) ผู้เรียนรู้จักคิด วิเคราะห์ การใช้เหตุและผล จากความรู้ที่ได้ ศึกษา หลักการมีภูมิคุ้มกันที่ดี 1) ผู้เรียนรู้จักนาความรู้ที่ได้จากศึกษา ค้นคว้า มาประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวัน เพื่อเป็นแนวทางในการดาเนินชีวิตอย่างไม่ประมาท เงื่อนไขความรู้ 1) ผู้เรียนรู้จักแสวงหาความรู้จากการใช้สื่อต่าง ๆ อย่างรอบ ด้าน 2) ผู้เรียนมีเป้าหมายการเรียนรู้และวิธีการที่จะไปถึง เป้าหมาย 40. 3) ผู้เรียนรู้จักนาความรู้ ประยุกต์ใช้ความรู้ได้อย่างถูกวิธี เงื่อนไขคุณธรรม 1) มีความขยัน 2) มีความประหยัด 3) มีความซื่อสัตย์ 4) มีวินัย 5) มีความสุภาพ 6) มีความสะอาด 7) มีความสามัคคี 8) มีน้าใจ มิติสังคม 1) ผู้เรียนสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ มีความรับผิดชอบ มีความ เสียสละ และความสามัคคี 2) ผู้เรียนสามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข และเป็นที่ยอมรับของสังคม มิติเศรษฐกิจ 1) ผู้เรียนเข้าใจถึงวิธีการดูแลรักษาทั้งชีวิต และทรัพย์สินของ ตัวเองได้อย่างดีและมีประสิทธิภาพ มิติวัฒนธรรม 1) ผู้เรียนมีความตระหนักและเห็นความสาคัญด้านความ ปลอดภัย 41. 5. สาระการเรียนรู้ 5.1 อันตรายที่เกิดจากไฟฟ้า 1) ไฟฟ้าลัดวงจร 2) ไฟฟ้าดูด 5.2 องค์ประกอบสาคัญที่ทาให้เกิดอันตรายจากไฟฟ้า 5.3 การป้องกันอันตรายที่เกิดจากไฟฟ้า 1) การป้องกันอันตรายจากการใช้ไฟฟ้า 2) การป้องกันอันตรายจากการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า 3) การป้องกันอันตรายเกี่ยวกับการซ่อมบารุงระบบไฟฟ้า 5.4 การช่วยเหลือและปฐมพยาบาลผู้ประสบภัยทางไฟฟ้า 1) การช่วยเหลือผู้ถูกไฟฟ้าดูดให้หลุดพ้นจากกระแสไฟฟ้า 2) การปฐมพยาบาลเบื้องต้น 5. กิจกรรมการเรียนการสอน ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูผู้สอนบอกจุดประสงค์การเรียนรู้ แนะนาหนังสือที่ใช้ ประกอบการเรียนการสอน แจ้งเนื้อหาสาระการเรียนรู้ และเกณฑ์การ วัดผลประเมินผลรายวิชา ขั้นสอน 1. ให้ผู้เรียนทดลองทาแบบทดสอบก่อนเรียน 2. อธิบายเกี่ยวกับอันตรายที่เกิดจากไฟฟ้า ซึ่งได้แก่ ไฟฟ้า ลัดวงจร และไฟฟ้าดูด 3. ครูซักถามนักเรียนเป็นรายบุคคล โดยการสุ่มถาม 2 – 3 คาถาม 42. 4. ครูอธิบายเกี่ยวกับองค์ประกอบสาคัญที่ทาให้เกิดอันตรายจาก ไฟฟ้า 5. ครูอธิบายต่อเกี่ยวกับวิธีการป้องกันอันตรายที่เกิดจากไฟฟ้า ทั้ง การป้องกันอันตรายต่อการใช้งาน อันตรายจากการปฏิบัติงานเกี่ยวกับ ไฟฟ้า และอันตรายจากการซ่อมบารุงระบบไฟฟ้า รวมถึงอธิบายวิธีการ ซ่อมบารุงไฟฟ้าอย่างไรให้ปลอดภัย 6. ครูอธิบายวิธีการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางไฟฟ้าเบื้องต้นว่าจะทา อย่างไรก่อน-หลัง และควรระมัดระวังเรื่องใด 7. ครูอธิบายและสาธิตการปฐมพยาบาลผู้ประสบภัยทางไฟฟ้าให้ นักเรียนดู 8. ครูให้นักเรียนจับคู่กัน เพื่อทดลองการปฐมพยาบาลในแบบต่าง ๆ 9. ครูให้นักเรียนมาปฏิบัติการปฐมพยาบาล ทีละหนึ่งคู่ และ ประเมินผลการปฏิบัติงาน ขั้นสรุปและการประยุกต์ 1. สรุปบทเรียนร่วมกับผู้เรียนจากการสักถาม 2. ครูประเมินผลการปฏิบัติการปฐมพยาบาล 3. ครูให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน 4. ร่วมกับผู้เรียนช่วยกันเฉลยแบบทดสอบ 7. อุปกรณ์และสื่อการเรียนการสอน 7.1 พุฒิพงศ์ ไชยราช. การติดตั้งไฟฟ้าในอาคาร : สานักพิมพ์เอมพันธ์ จากัด , 2558. 7.2 ประวิทย์ อุนะพานัก. การติดตั้งไฟฟ้าในอาคาร : สานักพิมพ์เอมพันธ์ จากัด , 2557. 43. 7.3 Power Point เรื่อง ความปลอดภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทาง ไฟฟ้า 7.4 เครื่องฉายโปรเจคเตอร์ พร้อมจอ 8. การวัดและประเมินผล วิธีวัดผล 1. สังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคล 2. สังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม 3. ตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู้ก่อนเรียน/หลังเรียน 4. การสังเกตและประเมินผลพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เครื่องมือวัดผล 1. แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคล 2. แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม 3. แบบประเมินผลการเรียนรู้ก่อนเรียน/หลังเรียน 4. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ โดยครูและนักเรียนร่วมกันประเมิน เกณฑ์การประเมินผล 1. แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคล เกณฑ์ผ่าน ต้องไม่มี ช่องปรับปรุง 2. แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม เกณฑ์ผ่านไม่น้อย กว่าร้อยละ 80 3. แบบประเมินผลการเรียนรู้ก่อนเรียน/หลังเรียน ต้องผ่านเกณฑ์ไม่ น้อยกว่าร้อยละ 60 44. 4. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมินตามสภาพจริง แบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน หน่วยที่ 1 เรื่อง ความปลอดภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานไฟฟ้า จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว 45. 1. เมื่อพบเห็นผู้ถูกไฟฟ้าดูด สิ่งใดที่ต้องทาเป็นอันดับแรก ก. ตามเพื่อนบ้านมาช่วย ข. ทาการปฐม พยาบาลเบื้องต้น ค. หาวิธีตัดกระแสไฟฟ้าออกจากร่างกาย ง. โทรศัพท์แจ้ง หน่วยฉุกเฉิน 1669 2. ข้อใด ไม่ใช่ สาเหตุของความรุนแรงที่อาจเกิดขึ้นจากการถูก กระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกาย ก. ระยะเวลาที่กระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกายข. ความต้านทาน ของร่างกาย ค. ปริมาณกระแสไฟฟ้า ง. สีผิวของร่างกาย 3. สิ่งใดสาคัญที่สุดขณะปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า ก. ความขยัน ข. ความรวดเร็ว ค. เครื่องมือที่ทันสมัย ง. ความมีสติไม่ ประมาท 4. การใช้ทองแดงเป็นอุปกรณ์ป้องกันแทนฟิวส์ที่ขาด จะทาให้ เกิดผลเสียอย่างไร ก. สายไฟฟ้าเสื่อมสภาพเร็วขึ้น ข. ไฟฟ้าลัดวงจร ค. ระบบไฟฟ้าสามารถจ่ายไฟฟ้าได้เป็นปกติ ง. ถูกทั้งข้อ ก และ ข 5. เมื่อปลดวงจรหยุดจ่ายไฟฟ้าเพื่อตรวจซ่อมอุปกรณ์หรือระบบไฟฟ้า สิ่งใดที่ควรกระทาเพื่อความปลอดภัย ก. ติดป้ายเตือน/ล็อคกุญแจที่แผงจ่ายไฟฟ้า ข. รีบแต่งกายเพื่อ ปฏิบัติงานทันที ค. ปฏิบัติงานด้วยความรวดเร็ว ง. สังเกตุและ วิเคราะห์ปัญหา 46. 6. ข้อใด ไม่ใช่ การป้องกันอันตรายจากกระแสไฟฟ้า ก. ใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ได้รับรองมาตรฐานอุตสาหกรรรม (มอก.) ข. ตรวจสอบสภาพทางไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าเป็นประจา ค. ใช้ฟิวส์ที่มีพิกัดการทนกระแสไฟฟ้าสูง ๆ ง. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา 7. ข้อใดเป็นสิ่งที่สาคัญเมื่อทาการปฐมพยาบาลผู้ป่วยหมดสติด้วย วิธีการเป่าปาก ก. ไม่ให้มีสิ่งกีดขวางอยู่ในลาคอ ข. ปลดกระดุมผู้ป่วย ทุกเม็ด ค. แปรงฟันผู้ป่วยก่อน ง. ควรเป็นเพศ เดียวกันเท่านั้น 8. ข้อใด ไม่ใช่ สาเหตุของการถูกไฟฟ้าดูด ก. สวมรองเท้าป้องกันไฟฟ้าทุกครั้ง ขณะปฏิบัติงาน ข. ปูเสื่อทับสายไฟขณะรับประทานอาหาร ค. ปิด-เปิดสวิตซ์ขณะร่างการเปียก ง. ใช้ไฟฟ้าในการจับปลา 9. การป้องกันกระแสไฟฟ้ารั่วจากเครื่องใช้ไฟฟ้า จะต้องทาอย่างไร ก. ใช้ฉนวนรองรับเครื่องใช้ไฟฟ้า ข. เลือกเครื่องใช้ไฟฟ้าราคาแพง ค. ติดตั้งสายดินตามมาตรฐานของการใช้ไฟฟ้า ง. เลือกใช้เซอร์กิตเบรกเกอร์ที่มีพิกัดกระแสสูงๆ 47. 10. การป้องกันอุบัติภัยจากไฟฟ้าในชีวิตประจาวัน ที่ทาให้เกิดความ ปลอดภัยและง่ายที่สุด คือ ก. ติดตั้งเซอร์กิตเบรกเกอร์ ข. ใช้ไฟฟ้าอย่างมีสติ ไม่ประมาท ค. สวมรองเท้าทุกครั้งเมื่อใช้เครื่องซักผ้า ง. ติดตั้งสัญญาณเตือนภัยที่นาเข้าจากต่างประเทศ ********************************* เฉลยแบบทดสอบหน่วยที่ 1 ข้อ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 คาตอบ ค ง ง ง ก ค ก ข ค ข แบบบันทึกหลังการจัดการเรียนรู ้ รายวิชา.......................การติดตั้งไฟฟ้าในอาคาร.....................รหัสวิชา .....................2104 – 2005..................... ระดับชั้น....................ปวช.1..............แผนกวิชา ......................................ไฟฟ้ากาลัง............................................ วันที่สอน วัน.........................ที่........... .......เดือน ....................................................พ.ศ...................................... หน่วยการเรียนรู้ที่....................แผนการจัดการเรียนรู้ที่..................... สัปดาห์ที่.................จานวน..........ชั่วโมง 48. เรื่อง ......................................................................................................... .............................................................. ข้อสรุปหลังการจัดการเรียนรู้ ......................................................................................................... ......................................................................................................... ......................................................................................................... ......................................................................................................... ......................................................................................................... ......................................................................................................... ......................................................................................................... ....................................................................................................… ……………………………………………………… ปัญหาที่พบ ......................................................................................................... ......................................................................................................... ......................................................................................................... ......................................................................................................... ......................................................................................................... ......................................................................................................... .......................................................................................... แนวทางการแก้ปัญหา ......................................................................................................... ......................................................................................................... ......................................................................................................... 49. ......................................................................................................... ......................................................................................................... ............... ลงชื่อ................................ครูผู้สอน ลงชื่อ ........................................... (นายวัชระ บุญหลง) (นายวีระ เดช ว่องเจริญโชควรการ) ตาแหน่ง ครูชานาญการ ตาแหน่ง รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ 1. แนวคิด การผลิต การส่งและจาหน่ายไฟฟ้าเริ่มต้นจากการผลิตกาลังไฟฟ้า จากเครื่องกาเนิดไฟฟ้าซึ่งสามารถผลิตกาลังไฟฟ้าได้ที่ระดับแรงดันไฟฟ้า ประมาณ 13.8 กิโลโวลต์ (KV) ด้วยปัญหาด้านฉนวน จึงไม่สามารถที่จะ สร้างแรงดันให้สูงกว่านี้ได้ แต่เนื่องจากการส่งกาลังไฟฟ้าในระยะทางไกล ๆ ให้ได้ประสิทธิภาพสูงนั้น จาเป็นต้องทาการเพิ่มระดับแรงดันไฟฟ้าที่ได้ จากเครื่องกาเนิดไฟฟ้าให้สูงขึ้นที่สถานีแปลงแรงดัน จากนั้นกาลังไฟฟ้าจะ ถูกส่งไปตามสายส่งไฟฟ้าแรงดันสูง เมื่อเข้าสูงบริเวณชุมชนจะทาการลดให้ เป็นแรงดันระดับปานกลางที่สถานีจาหน่ายไฟฟ้าย่อย ทั้งนี้เพื่อความ แผนการเรียนรู้ที่ 2 หน่วยที่ 2 จานวน 5 ชั่วโมง สัปดาห์ที่ 2 ชื่อวิชา การติดตั้งไฟฟ้าในอาคาร รหัส วิชา 2104 - 2005 ชื่อหน่วย ระบบการผลิต การส่ง และจาหน่ายไฟฟ้า 50. ปลอดภัยและเมื่อกาลังไฟฟ้าถูกส่งไปยังผู้ใช้ไฟฟ้าจะต้องทาการลดระดับ แรงดันลงที่หม้อแปลงจาหน่ายให้เป็นระดับแรงดันต่า เพื่อจ่ายไฟฟ้าให้กับ อาคาร สานักงาน บ้านพักอาศัย 2.สาระการเรียนรู้ 2.1 ระบบกาลังไฟฟ้า 2.2 ระบบการส่งจ่ายกาลังไฟฟ้าในประเทศไทย 2.3 การจ่ายกาลังไฟฟ้าให้กับผู้ใช้ไฟฟ้า 3. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 3.1 อธิบายระบบกาลังไฟฟ้าได้ 3.2 อธิบายระบบการส่งจ่ายกาลังไฟฟ้าในประเทศไทยได้ 3.3 อธิบายการจ่ายกาลังไฟฟ้าใฟ้กับผู้ใช้ไฟฟ้าได้ 3.4 มีการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ที่ครูสามารถสังเกตเห็นได้ในด้านการมีมนุษยสัมพันธ์ ความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความเชื่อมั่นในตนเอง ความสนใจใฝ่รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที 4. การบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักความพอประมาณ 1) ผู้เรียนมีความตระหนักและให้ความสาคัญ ต่อความปลอดภัยใน การปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า 2) คานึงถึงศักยภาพของตนเอง หลักความมีเหตุผล 51. 1) ผู้เรียนรู้จักคิด วิเคราะห์ การใช้เหตุและผล จากความรู้ที่ได้ ศึกษา หลักการมีภูมิคุ้มกันที่ดี 1) ผู้เรียนรู้จักนาความรู้ที่ได้จากศึกษา ค้นคว้า มาประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวัน เพื่อเป็นแนวทางในการดาเนินชีวิตอย่างไม่ประมาท เงื่อนไขความรู้ 1) ผู้เรียนรู้จักแสวงหาความรู้จากการใช้สื่อต่าง ๆ อย่างรอบ ด้าน 2) ผู้เรียนมีเป้าหมายการเรียนรู้และวิธีการที่จะไปถึงเป้าหมาย 3) ผู้เรียนรู้จักนาความรู้ ประยุกต์ใช้ความรู้ได้อย่างถูกวิธี เงื่อนไขคุณธรรม 1) มีความขยัน 2) มีความประหยัด 3) มีความซื่อสัตย์ 4) มีวินัย 5) มีความสุภาพ 6) มีความสะอาด 7) มีความสามัคคี 8) มีน้าใจ 52. มิติสังคม 1) ผู้เรียนสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ มีความรับผิดชอบ มีความ เสียสละ และความสามัคคี 2) ผู้เรียนสามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข และเป็นที่ยอมรับของสังคม มิติเศรษฐกิจ 1) ผู้เรียนเข้าใจถึงวิธีการดูแลรักษาทั้งชีวิต และทรัพย์สินของ ตัวเองได้อย่างดีและมีประสิทธิภาพ มิติวัฒนธรรม 1) ผู้เรียนมีความตระหนักและเห็นความสาคัญด้านความ ปลอดภัย 5. สาระการเรียนรู้ 5.1 ระบบไฟฟ้ากาลัง 1. ระบบการผลิต 2. ระบบการส่ง 3. ระบบการจาหน่าย 4. ระบบการใช้กาลังไฟฟ้า 5.2 ระบบการส่งจ่ายกาลังไฟฟ้าในประเทศไทย 1. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย 1.1 บริษัทผลิตไฟฟ้าขนาดใหญ่ (Independent Power Producer :IPP) 53. 1.2 บริษัทผลิตไฟฟ้าขนาดเล็ก (Small Power Producer :SPP) 2. การไฟฟ้านครหลวง 2.1 ระบบการส่งกาลังไฟฟ้าย่อย (Sub trans mission System) 2.2 ระบบการจาหน่าย (Distribution System) 2.3 ระบบการใช้กาลังไฟฟ้า (Utilization System) 3. การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค 3.1 แหล่งพลังงานไฟฟ้า 4. ระบบการจาหน่ายแรงดันปานกลาง 4.1 ระบบแรงดัน 22 kv Conventional Solidly Grouded System 4.2 ระบบแรงดัน 33 kv Multi-grounded System With Overhead Ground With 5. ระบบจาหน่ายแรงดันต่า 5.1 ระบบจาหน่ายแรงดันต่า 1 เฟส 5.3 การจ่ายกาลังไฟฟ้าให้กับผู้ใช้ไฟฟ้า 1. ขนาดมิเตอร์ของการไฟฟ้านครหลวง 2. ขนาดมิเตอร์ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค 3. ลักษณะการจ่ายไฟฟ้าระหว่างการไฟฟ้าฯ กับผู้ใช้ไฟฟ้า 6. กิจกรรมการเรียนการสอน 54. ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน 1. ซักถามผู้เรียนในสิ่งที่ได้เรียนไปเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว สรุปจากที่ ผู้เรียนตอบหรือแสดงความคิดเห็นมา ขั้นสอน 1. ครูให้ผู้เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน 2. เก็บแบบทดสอบ 3. ครูอธิบายเรื่อง ความหมายของระบบกาลังไฟฟ้า ซึ่งประกอบด้วย ระบบการผลิต ระบบการส่งจ่าย ระบบการจาหน่าย และระบบการใช้ กาลังไฟฟ้า โดยแสดงรูปประกอบ 4. ครูอธิบายเรื่อง ระบบการส่งจ่ายกาลังไฟฟ้าในประเทศไทย ซึ่ง ประกอบด้วย การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย การไฟฟ้านครหลวง และ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค โดยพูดถึงบทบาทและหน้าที่ของแต่ละระดับซึ่งมีความ แตกต่างกัน 5. ครูอธิบายเรื่อง การจ่ายกาลังไฟฟ้าให้กับผู้ใช้ไฟฟ้า ซึ่งมี 2 ส่วน คือ การไฟฟ้านครหลวง และการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค โดยแสดงภาพ ประกอบการอธิบาย 6. ครูซักถามผู้เรียนในสิ่งที่ได้อธิบายไปแล้ว ขั้นสรุปและการประยุกต์ 1. สรุปบทเรียนจากคาตอบของผู้เรียน 2. ครูแจกใบงานให้นักเรียนทา 3. ครูแจกแบบทดสอบหลังเรียนให้ผู้เรียนทา 55. 4. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยแบบทดสอบ 7. สื่อการเรียนการสอน 7.1 พุฒิพงศ์ ไชยราช. การติดตั้งไฟฟ้าในอาคาร : สานักพิมพ์เอมพันธ์ จากัด , 2558. 7.2 ประวิทย์ อุนะพานัก. การติดตั้งไฟฟ้าในอาคาร : สานักพิมพ์เอมพันธ์ จากัด , 2557. 7.3 Power Point เรื่อง ระบบการผลิต การส่ง และการจาหน่ายไฟฟ้า ในประเทศไทย 7.4 เครื่องฉายโปรเจคเตอร์ พร้อมจอ 8. การวัดและประเมินผล วิธีวัดผล 1. สังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคล 2. สังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม 3. ตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู้ก่อนเรียน/หลังเรียน 4. การสังเกตและประเมินผลพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เครื่องมือวัดผล 1. แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคล 2. แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม 3. แบบประเมินผลการเรียนรู้ก่อนเรียน/หลังเรียน 56. 4. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ โดยครูและนักเรียนร่วมกันประเมิน เกณฑ์การประเมินผล 1. แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคล เกณฑ์ผ่าน ต้องไม่มี ช่องปรับปรุง 2. แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม เกณฑ์ผ่านไม่น้อย กว่าร้อยละ 80 3. แบบประเมินผลการเรียนรู้ก่อนเรียน/หลังเรียน ต้องผ่านเกณฑ์ไม่ น้อยกว่าร้อยละ 60 4. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมินตามสภาพจริง 57. แบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน หน่วยที่ 2 เรื่อง ระบบการผลิต การส่ง และจาหน่ายไฟฟ้า จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว 1. ปัจจุบันการผลิตและการส่งจ่ายกาลังไฟฟ้าภายในประเทศไทย หน่วยงานใด ไม่มี ส่วนเกี่ยวข้อง ก. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ข. การไฟฟ้า ส่วนภูมิภาค ค. การไฟฟ้านครหลวง ง. การไฟฟ้า กรุงเทพมหานคร 58. 2. ข้อใด ไม่ใช่ ระบบการส่งกาลังไฟฟ้าของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย ก. 500 กิโลโวลต์ 3 เฟส 3 สาย 50 เฮิร์ต ข. 220 กิโล โวลต์ 3 เฟส 3 สาย 50 เฮิร์ต ค. 115 กิโลโวลต์ 3 เฟส 3 สาย 50 เฮิร์ต ง. 69 กิโล โวลต์ 3 เฟส 3 สาย 50 เฮิร์ต 3. การไฟฟ้านครหลวงรับผิตชอบดูแลจังหวัดใดบ้าง ก. กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ นนทบุรี ข. กรุงเทพมหานคร สมุทรสาคร นนทบุรี ค. กรุงเทพมหานคร สมุทรสงคราม นนทบุรี ง. กรุงเทพมหานคร ปทุมธานี นนทบุรี 4. หม้อแปลงจาหน่ายของการไฟฟ้านครหลวง แปลงแรงดันกี่กิโล โวลต์ เป็นแรงดันกี่โวลต์ ก. 12 กิโลโวลต์ เป็นแรงดัน 400/230 โวลต์ข. 12 กิโลโวลต์ เป็น แรงดัน 416/230 โวลต์ ค. 24 กิโลโวลต์ เป็นแรงดัน 416/240 โวลต์ง. 24 กิโลโวลต์ เป็น แรงดัน 416/230 โวลต์ 5. ระบบแรงดันไฟฟ้า 33 kv Multi-grounded System with Overhead Ground wire ใช้ในจังหวัดใด ก. ขอนแก่น นครราชสีมา อุดรธานี ข. นราธิวาส ยะลา ปัตตานี ค. เชียงราย พะเยา ลาพูน ง. ระยอง ระนอง ยะลา 6. ข้อใด ไม่ใช่ ขนาดมิเตอร์ระบบไฟฟ้า 220 โวลต์ 1 เฟส 2 สาย ของการไฟฟ้านครหลวง 59. ก. 5(15) , 220 โวลต์ ข. 15(45) , 220 โวลต์ ค. 30(90) , 220 โวลต์ ง. 50(150), 220 โวลต์ 7. แรงดันเฟส (Vp) ในระบบไฟฟ้า 3 เฟส 4 สาย มีค่าประมาณกี่โวลต์ ก. 220 โวลต์ ข. 380 โวลต์ ค. 440 โวลต์ ง. 750 โวลต์ 8. แรงดันไลน์ (VL) ในระบบไฟฟ้า 3 เฟส 4 สาย มีค่าประมาณกี่ โวลต์ ก. 220 โวลต์ ข. 380 โวลต์ ค. 440 โวลต์ ง. 750 โวลต์ 9. การส่งกาลังไฟฟ้าของการาฟฟ้านครหลวงแบ่งเป็นกี่ระบบ ก. 2 ระบบ ข. 3 ระบบ ค. 4 ระบบ ง. 5 ระบบ 10. สาเหตุใดที่ระบบจาหน่ายไฟฟ้า 3 เฟส 4 สาย มีกระแสไฟฟ้าไหล ไม่เท่ากันในแต่ละเฟส ก. เครื่องใช้ไฟฟ้าส่วนใหญ่เป็นโหลด 1 เฟส ข. เครื่องใช้ไฟฟ้าส่วนใหญ่เป็นโหลด 3 เฟส ค. ระบบจาหน่ายไม่มีประสิทธภาพ ง. ระบบไม่มีการต่อ ลงดิน ********************************* 60. เฉลยแบบทดสอบหน่วยที่ 2 ข้อ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 คาตอบ ง ข ก ค ข ค ข ก ข ข แบบบันทึกหลังการจัดการเรียนรู ้ รายวิชา.......................การติดตั้งไฟฟ้าในอาคาร.....................รหัสวิชา .....................2104 – 2005..................... ระดับชั้น....................ปวช.1..............แผนกวิชา ......................................ไฟฟ้ากาลัง............................................ วันที่สอน วัน.........................ที่........... .......เดือน ....................................................พ.ศ...................................... หน่วยการเรียนรู้ที่....................แผนการจัดการเรียนรู้ที่..................... สัปดาห์ที่.................จานวน..........ชั่วโมง 61. เรื่อง ......................................................................................................... .............................................................. ข้อสรุปหลังการจัดการเรียนรู้ ......................................................................................................... ......................................................................................................... ......................................................................................................... ......................................................................................................... ......................................................................................................... ......................................................................................................... ......................................................................................................... ....................................................................................................… ……………………………………………………… ปัญหาที่พบ ......................................................................................................... ......................................................................................................... ......................................................................................................... ......................................................................................................... ......................................................................................................... ......................................................................................................... .......................................................................................... แนวทางการแก้ปัญหา ......................................................................................................... ......................................................................................................... ......................................................................................................... 62. ......................................................................................................... ......................................................................................................... ............... ลงชื่อ................................ครูผู้สอน ลงชื่อ ........................................... (นายวัชระ บุญหลง) (นายวีระ เดช ว่องเจริญโชควรการ) ตาแหน่ง ครูชานาญการ ตาแหน่ง รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ 1. แนวคิด เครื่องมือ วัดสุ อุปกรณ์ มีความจาเป็นใช้งานติดตั้งไฟฟ้า เพราะจะ ทาให้การปฏิบัติงานสาเร็จได้อย่างรวดเร็ว สาหรับงานติดตั้งไฟฟ้าภายใน อาคาร มีเครื่องมือ อุปกรณ์ วัสดุ ที่มีความจาเป็นจะต้องรู้จักชื่อและ วิธีการใช้งานอย่างถูกต้อง เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการปฏิบัติงานและ เพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานให้สูงขึ้น 2.สาระการเรียนรู้ แผนการเรียนรู้ที่ 3 หน่วยที่ 3 จานวน 5 ชั่วโมง สัปดาห์ที่ 3 ชื่อวิชา การติดตั้งไฟฟ้าในอาคาร รหัส วิชา 2104 - 2005 ชื่อหน่วย เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ ที่ใช้ในงานติดตั้งไฟฟ้า 63. 2.1 เครื่องมือสาหรับงานติดตั้งไฟฟ้า 2.2 เครื่องมือวัดและทดสอบในงานติดตั้งไฟฟ้า 2.3 วัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในการเดินสายไฟฟ้าทั่วไป 3. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 3.1 บอกชื่อและอธิบายวิธีการใช้งานของเครื่องมือสาหรับงานติดตั้ง ไฟฟ้าได้ 3.2 บอกชื่อและอธิบายวิธีการใช้งานของเครื่องมือวัดและทดสอบใน งานติดตั้งไฟฟ้าได้ 3.3 บอกชื่อและอธิบายวิธีการใช้งานของวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในงานเดิน สายไฟฟ้าได้ 3.4 มีการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ที่ครูสามารถสังเกตเห็นได้ในด้านการมีมนุษยสัมพันธ์ ความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความเชื่อมั่นในตนเอง ความสนใจใฝ่รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที 4. การบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักความพอประมาณ 1) ผู้เรียนมีความตระหนักและให้ความสาคัญ ต่อความปลอดภัยใน การปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า 2) คานึงถึงศักยภาพของตนเอง หลักความมีเหตุผล 64. 1) ผู้เรียนรู้จักคิด วิเคราะห์ การใช้เหตุและผล จากความรู้ที่ได้ ศึกษา หลักการมีภูมิคุ้มกันที่ดี 1) ผู้เรียนรู้จักนาความรู้ที่ได้จากศึกษา ค้นคว้า มาประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวัน เพื่อเป็นแนวทางในการดาเนินชีวิตอย่างไม่ประมาท เงื่อนไขความรู้ 1) ผู้เรียนรู้จักแสวงหาความรู้จากการใช้สื่อต่าง ๆ อย่างรอบ ด้าน 2) ผู้เรียนมีเป้าหมายการเรียนรู้และวิธีการที่จะไปถึงเป้าหมาย 3) ผู้เรียนรู้จักนาความรู้ ประยุกต์ใช้ความรู้ได้อย่างถูกวิธี เงื่อนไขคุณธรรม 1) มีความขยัน 2) มีความประหยัด 3) มีความซื่อสัตย์ 4) มีวินัย 5) มีความสุภาพ 6) มีความสะอาด 7) มีความสามัคคี 8) มีน้าใจ มิติสังคม 1) ผู้เรียนสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ มีความรับผิดชอบ มีความ เสียสละ และความสามัคคี 65. 2) ผู้เรียนสามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข และเป็นที่ยอมรับของสังคม มิติเศรษฐกิจ 1) ผู้เรียนเข้าใจถึงวิธีการดูแลรักษาทั้งชีวิต และทรัพย์สินของ ตัวเองได้อย่างดีและมีประสิทธิภาพ มิติวัฒนธรรม 1) ผู้เรียนมีความตระหนักและเห็นความสาคัญด้านความ ปลอดภัย 5. สาระการเรียนรู้ 5.1 เครื่องมือสาหรับงานติดตั้งไฟฟ้า 5.2 เครื่องมือวัดและทดสอบในงานติดตั้งไฟฟ้า 5.3 วัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในงานติดตั้งไฟฟ้าทั่วไป 6. กิจกรรมการเรียนการสอน ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูซักถามผู้เรียนว่าจาเป็นหรือไม่ ที่เราจะต้องทาความรู้จัก เครื่องมือที่ใช้ในงานติดตั้งไฟฟ้าก่อนการปฏิบัติจริง ทั้งนี้เพื่ออะไร (ถาม สุ่ม 2 – 3 คน) ขั้นสอน 1. ครูให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน


Comments

Copyright © 2024 UPDOCS Inc.